380 likes | 805 Views
สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. สถานการณ์หมอกควันในภาคเหนือตอนบน. กรมควบคุมโรค. ความเป็นมา. กรมควบคุมโรคได้เฝ้าระวังภาวะหมอกควันอย่างต่อเนื่อง โดยการติดตามสภาพอากาศซึ่งตรวจวัดโดยกรมควบคุมมลพิษ ค่าที่ใช้ในการเฝ้าระวังคือ Air Quality Index (AQI) (PM10 +SO2+NOx+O3+CO)
E N D
สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม สถานการณ์หมอกควันในภาคเหนือตอนบน กรมควบคุมโรค
ความเป็นมา • กรมควบคุมโรคได้เฝ้าระวังภาวะหมอกควันอย่างต่อเนื่อง โดยการติดตามสภาพอากาศซึ่งตรวจวัดโดยกรมควบคุมมลพิษ • ค่าที่ใช้ในการเฝ้าระวังคือ Air Quality Index (AQI) (PM10 +SO2+NOx+O3+CO) • ถ้า AQI สูงจะบ่งถึงสภาพอากาศที่ไม่ดี AQI ไม่ควรเกิน 100 • ทุกปีจะเกิดภาวะหมอกควันในช่วงกลางเดือนมีนาคม แต่ปีนี้ภาวะหมอกควันเริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ (เร็วกว่ากำหนด)
เริ่มเกิดหมอกควัน สถานการณ์ทั่วไป: เวลาเริ่มต้นเหตุการณ์ กรมฯจัดประชุม
ภูมิประเทศแบบแอ่งกระทะภูมิประเทศแบบแอ่งกระทะ
สภาพอากาศ ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์หมอกควันเริ่มจากลำปางและเลื่อนขึ้นเหนือ เชียงราย เชียงราย เชียงใหม่ เชียงใหม่ พะเยา พะเยา น่าน น่าน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน ่ ่ ลำพูน ลำพูน AQI AQI >140 # # 120 - - 140 100-120 ลำปาง ลำปาง ปกติ แพร่ แพร่
สภาพอากาศ ณ วันที่ 8 มีนาคมหมอกควันเพิ่มขึ้นและเลื่อนไปยังเชียงราย พะเยา และสูงคงที่มาตลอดส่วนลำปางเพิ่มขึ้นแต่ไม่รุนแรงเท่าสองจังหวัดนี้ เชียงราย เชียงราย เชียงใหม่ เชียงใหม่ พะเยา พะเยา น่าน น่าน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน ่ ่ ลำพูน ลำพูน AQI AQI >140 # # 120 - - 140 100-120 ลำปาง ลำปาง ปกติ แพร่ แพร่
การศึกษาการกระจายตัวของ PM10 โดย Google Earth
ภาพการกระจายตัวของฝุ่นในวันที่ 28 มีนาคม 2552
ภาพขยายแสดงการกระจายตัวของฝุ่นภาพขยายแสดงการกระจายตัวของฝุ่น
ภาพขยายแสดงให้เห็นสภาพภูมิประเทศซึ่งไม่พบว่ามีความแตกต่างกันอาจไม่สัมพันธ์กับการมีฝุ่นมากภาพขยายแสดงให้เห็นสภาพภูมิประเทศซึ่งไม่พบว่ามีความแตกต่างกันอาจไม่สัมพันธ์กับการมีฝุ่นมาก
ดูสาเหตุของการเกิดไฟป่าจาก Web firemapperhttp://maps.geog.umd.edu/activefire_html/checkboxes/thailand_checkbox.htm
ภาพแสดง hotspot (จุดไฟป่า)ในวันเดียวกัน
การซ้อนภาพจุดไฟป่า และหมอกควันบน google earth
การเพิ่มขึ้นของ AQI กลางเดือนกุมภาพันธ์และลดลงในเดือนมีนาคม
ภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงของ PM10 แสดงแนวโน้มที่ดี
Forecasting: เหตุการณ์จะสิ้นสุดเมื่อใด?
อาจสิ้นสุดภายในวันที่ 25 มีนาคม จากการที่มีฝนตกทั่วประเทศ
การนิเทศติดตามผลวันที่10 -12 มีนาคมในเขต10 สาเหตุของการเกิดหมอกควัน หมอกควันเกิดจากการเผาป่า ซึ่งมีหลายสาเหตุ ได้แก่ • สาเหตุทางเศรษฐกิจ • เพื่อผลิตผลจากป่าเช่น ผักหวาน ผักตุ๊ด เห็ดบางชนิด ฯ • เพื่อครอบครองพื้นที่สาธารณะ ผู้ใดเผาป่าก่อนจะได้ครอบครองพื้นที่ตามขอบเขตที่ได้เผาเอาไว้ เพื่อปลูกข้าวไร่ ข้าวโพด • เพื่อเตรียมพื้นที่ทำการเกษตร เนื่องจากไม่มีทุนในการจ้างแรงงานถางป่า • สภาพภูมิประเทศเป็นแอ่งกระทะ ควันไฟไม่สามารถลอยออกไปนอกพื้นที่ได้ • จากมลพิษจากการจราจรในเมือง
การรายงานข้อมูล • โรงพยาบาลในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบน (เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน พะเยา ลำปาง และลำพูน)รายงานข้อมูลให้แก่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกวัน • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดรายงานให้กับสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่10 สัปดาห์ละ2 ครั้ง • สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่10 รายงานให้กับสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมอาทิตย์ละครั้ง • สถานีอนามัยยังไม่มีการรายงานเนื่องจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดได้พิจารณาแล้วเห็นว่าสถานีอนามัยยังไม่มีความพร้อมในการรายงาน
ผลการสอบสวน จังหวัดลำปาง พบว่าผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจในปี 52 มีอัตราสูงกว่าของปี 51 และโรคที่มีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดคือทางเดินหายใจส่วนบนและหอบหืด
ความสัมพันธ์ระหว่างฝุ่นกับโรคหัวใจและทางเดินหายใจในลำปางความสัมพันธ์ระหว่างฝุ่นกับโรคหัวใจและทางเดินหายใจในลำปาง
จำนวนของผู้ป่วยของจังหวัดเชียงราย เปรียบเทียบกับระดับของฝุ่นในบรรยากาศ
จำนวนผู้ป่วยในจังหวัดเชียงใหม่ด้วยโรคต่างๆในหมวด J, I และบางหมวดของ H (ตา) และ L (โรคผิวหนัง) ในต้นเดือนกุมภาพันธ์
รายงานจากแม่ฮ่องสอนเดือนมีนาคมแสดงการเพิ่มของโรคทางเดินหายใจรายงานจากแม่ฮ่องสอนเดือนมีนาคมแสดงการเพิ่มของโรคทางเดินหายใจ
รายงานจากแม่ฮ่องสอน(มีนาคม) แสดงค่าใช้จ่าย
จำนวนผู้ป่วยแพร่ 1-15 มีนาคมโรคหัวใจรายงานแต่ละจังหวัดมีความแตกต่างกันมาก ขึ้นกับการนัด FU การรณรงค์ต่างๆด้วย
ปัญหาอุปสรรค • ระบบการรายงานข้อมูลในพื้นที่ยังเป็นแบบกึ่ง Manual และต้องใช้เวลาในการปฏิบัติมาก • โรงพยาบาลบางแห่งขาดความพร้อมในแยกโรคตามรหัส ICD10 ที่สำนักฯกำหนด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดได้แก้ปัญหาโดยให้โรงพยาบาลส่งข้อมูลผู้ป่วยทุกราย จากนั้นสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมาคัดแยกผู้ป่วยเอง • ส่วนกลางยังขาดการประชาสัมพันธ์เรื่องระบบการรายงานข้อมูลให้ทางพื้นที่ทราบ • หน่วยงานส่วนกลางยังขาดข้อมูลสนับสนุนด้านวิชาการที่ถูกต้องและมีความจำเพาะสำหรับการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากภาวะหมอกควัน • การให้คำจำกัดความในแบบรายงานยังไม่ชัดเจนเช่น หน่วยนับที่เป็นรายหรือเป็นจำนวนครั้ง
ข้อเสนอแนะ • ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับระบบการรายงานข้อมูลที่สอดคล้องกันการดำเนินงานในพื้นที่ เช่นการรายงานในระบบ12 แฟ้ม ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่ได้มีการดำเนินการอยู่แล้ว • ควรมีรูปแบบการดำเนินการแบบ Sentinel และ Rapid survey • สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ ควรเตรียมความพร้อมสำหรับการเฝ้าระวังล่วงหน้าก่อนเกิดเหตุการณ์ • สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯควรพัฒนาความรู้ให้หน่วยบริการสาธารณสุขทุกระดับ เพื่อให้พร้อมรับสถานการณ์และผลกระทบตามแนวทาง PHER • อุปกรณ์บรรเทาทุกข์ เช่นหน้ากาก ควร Available ตลอดเวลา
ข้อเสนอแนะจากที่ประชุม AAR(8 เมย. 52) • ควรมีการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างถูกต้องตามหลักสถิติ เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างหมอกควันและการเกิดโรค • ควรสร้างความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่ายเช่น สำนักระบาดวิทยาและเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาในพื้นที่ให้มากขึ้น • ควรกำหนดบทบาทของการเฝ้าระวังของสำนักโรคฯให้ชัดเจนเพื่อไม่ให้ซ้ำซ้อนกับงานของสำนักระบาดฯ • ควรกำหนดแบบรายงานให้เจาะจงกับโรคที่มีหลักฐานว่าเกิดจากหมอกควันเช่น Acute Exacerbation of Asthma, Myocardial infarction • ควรมีการวางแผนการดำเนินการล่วงหน้าอย่างเป็นระบบ