160 likes | 319 Views
การติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ กองทุนโลกด้านวัณโรครอบที่ 8 ผู้รับทุนรอง สำนักวัณโรค. สุดธิดา แก้วไพฑูรย์ กลุ่มงานบริหารจัดการโครงการกองทุนโลกด้านวัณโรค รอบที่ 8 สำนักวัณโรค 28 ธันวาคม 2552. หัวข้อนำเสนอ.
E N D
การติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการกองทุนโลกด้านวัณโรครอบที่ 8ผู้รับทุนรอง สำนักวัณโรค สุดธิดา แก้วไพฑูรย์ กลุ่มงานบริหารจัดการโครงการกองทุนโลกด้านวัณโรค รอบที่ 8 สำนักวัณโรค 28 ธันวาคม 2552
หัวข้อนำเสนอ • ผลการดำเนินงานโครงการช่วงที่ 1 (กค.-กย.52) และ แนวทางการเร่งรัดผลสำเร็จตัวชี้วัด • ความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ ช่วงที่ 2 (ตค.-ธค. 52) • การบริหารจัดการโครงการ การเงินและการบัญชี • การจัดซื้อจัดจ้างกิจกรรมโครงการ ปีที่ 1 (หมวดที่ 4, 6 และ 7) • แผนการดำเนินงานกิจกรรมวัณโรคในชุมชน • ปัญหาอุปสรรค และประเด็นอื่นๆ • สรุป
ผลการดำเนินงานตัวชี้วัด (PF) ช่วงที่1 และแนวทางการเร่งรัด
ผลการดำเนินงานตัวชี้วัด (PF) ช่วงที่1 และแนวทางการเร่งรัด
ผลการดำเนินงานตัวชี้วัด (PF) ช่วงที่1 และแนวทางการเร่งรัด
ผลการดำเนินงานตัวชี้วัด (PF) ช่วงที่1 และแนวทางการเร่งรัด
การเตรียมการกำกับ (Monitoring) กิจกรรมโครงการ ช่วงที่ 2
การเตรียมการกำกับ (Monitoring) กิจกรรมโครงการ (ต่อ)
การเตรียมการกำกับ (Monitoring) กิจกรรมโครงการ (ต่อ)
การจัดทำรายงานการเงิน และบัญชี • PR สนับสนุน ง.ป.ม. ครั้งที่ 1 ให้สำนักวัณโรค จำนวนเงิน 43,998,161.18 บาท เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2552 • ยอดคงเหลือในสมุดบัญชีธนาคารจำนวนเงิน22ล้านบาท (ณ วันที่ 25 ธ.ค. 52) • รายละเอียดการใช้จ่าย งปม ตามหมวดกิจกรรมดังนี้
การจัดทำรายงานการเงิน และบัญชี (ต่อ)
การจัดซื้อจัดจ้างกิจกรรมโครงการ ปีที่ 1 (หมวดที่ 4, 6 และ 7) รายการ ดำเนินการแล้ว แผนดำเนินการ เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง ( 9,562,500.-) กล้องจุลทรรศน์ (573,750.- ) ยานพาหนะเพื่อใช้ในการติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ (5,950,000.-) ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์และวัสดุสำนักงาน (6,231,562.50) (รวม งปม ของ PGA & APW) อยู่ระหว่างดำเนินการลงประกาศทางเว็บไซด์ อยู่ระหว่างการอนุมัติจัดซื้อ และทำสัญญา อยู่ระหว่างการกำหนดคุณลักษณะ เพื่อเสนอกรมควบคุมโรคผ่านกองคลัง อยู่ระหว่างรอการอนุมัติจัดซื้อจากกองคลัง กรมควบคุมโรค เบิกจ่าย สิ้นเดือน มิย.53 เบิกจ่าย สิ้นเดือน มิย.53 เบิกจ่าย สิ้นเดือน มิย.53 เบิกจ่าย สิ้นเดือน มิย.53
แผนการดำเนินงานวัณโรคในชุมชนแผนการดำเนินงานวัณโรคในชุมชน • สัญญาโครงการ (PGA) ระหว่างกรมควบคุมโรค และ สำนักวัณโรค จัดทำสัญญาฉบับใหม่ โดยเพิ่มเติมงบประมาณวัณโรคในชุมชน • สัญญาโครงการ (PGA) ระหว่างสำนักวัณโรค และ สคร. จัดทำสัญญาเพิ่มเติมสำหรับกิจกรรมวัณโรคในชุมชน โดยปัจจุบัน สคร. ได้รับสัญญาเพิ่มเติมฉบับร่างเพื่อพิจารณาแล้ว • สำนักวัณโรคดำเนินการลงนามสัญญาเพิ่มเติมให้ผู้รับทุนรอง เมื่อได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก PR กรมควบคุมโรค • การรายงานผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัด 1.1 “จำนวนบันทึกข้อตกลง (ด้านวัณโรค) ที่ลงนามระหว่างอ.ป.ท.และสสจ.” และ ตัวชี้วัด 3.1 “จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยวัณโรคชนิดแพร่เชื้อทุกประเภท และ/หรือ ผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอช ไอ วี มีผู้ดูแลการกินยาทุกวันด้วยวิธี DOT โดยชุมชน” รายงานตั้งแต่วันที่ 1 ตค. 52 เป็นต้นไป • การเบิกจ่ายงบประมาณโครงการกิจกรรมวัณโรคในชุมชน เบิกจ่ายได้ตั้งแต่ วันที่ 1 ต.ค 52
ประเด็นท้าทาย • โครงการมีเจตนารมณ์ให้งบประมาณบางส่วนต้องบูรณาการกับงานปกติ เพื่อให้เกิดการลงทุนร่วมกัน (cost-sharing) แต่พื้นที่ต้องการให้กองทุนโลกรับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมด เช่น การประชุม การอบรม และการนิเทศงาน • สสจ.ส่วนใหญ่ (56 แห่ง) ไม่เคยบริหารงบประมาณของกองทุนโลก ทำให้ไม่เข้าใจขั้นตอนการเบิก-จ่ายงบประมาณ ซึ่งสวร. ได้จัดทำเอกสาร Q&A และประชุมชี้แจง (หากมีการขอให้สนับสนุน) เช่น สคร. 10, มช., สคร. 6, สคร. 7,สคร. 11 และกำหนด สคร. 5 วันที่ 6 มค 53 นี้ • การนับผู้ป่วยในGF8 ให้ไม่ซ้ำซ้อนกับ WV เนื่องจากภูเก็ต ไม่ทราบว่าผู้ป่วยรายใดที่ WV รายงานให้กองทุนโลก ดังนั้นจึงรายงาน Non-Thai ทั้งหมดให้รอบที่ 8 ซึ่งสำนักวัณโรคมีแผนเพื่อจัดประชุมในทุกพื้นที่ซึ่ง WV ดำเนินการอยู่เพราะต้องการให้ WV ส่งรายงานของตนเองเข้าสู่ระบบปกติด้วย
ประเด็นท้าทาย (2) • องค์ความรู้มีพัฒนาการ ในขณะที่การจัดทำโครงการใช้ความรู้ในปี 50-51 ทำให้เนื้อหา และงบประมาณของโครงการไม่สอดคล้องกับองค์ความรู้ปัจจุบัน เช่น วัณโรคในเด็ก (Index, targets < 18) และ MDR-TB (IC งปม.มีน้อยกว่าที่ GLCrecommendation, indicator of case-finding ไม่ควรรายงานทันทีในรอบ 3 เดือน เพราะยังไม่ทราบผล DST) เรือนจำ (WHO ปรับเปลี่ยนแนวทางการค้นหาในกลุ่ม new comers, current prisoners, contact investigation) เป็นต้น • หลายกิจกรรมของโครงการรอบที่ 8 เป็นกิจกรรมใหม่ที่ไม่ได้ระบุไว้ในแนวทางการเบิกจ่ายของกองทุนโลก เช่น คูปองพาหนะและอาหาร ค่าตรวจ CD4/HIV ค่าเยี่ยมบ้าน การจ้างเหมาบริการการตรวจสอบข้อมูลที่สสจ. เป็นต้น ทำให้ฝ่ายการเงินของพื้นที่ดำเนินงานบางแห่งไม่เห็นด้วยกับแนวทางการเบิกจ่ายที่สำนักวัณโรคกำหนดขึ้น เช่น สสจ. ฉะเชิงเทรา • กรม สบส ไม่สามารถร่วมดำเนินกิจกรรมของโครงการ ส่งผลให้หน่วยงานด้านควบคุมโรคซึ่งไม่มีความเชี่ยวชาญเรื่องชุมชน เป็นผู้ดำเนินการ
สรุป • ตัวชี้วัดโครงการ ช่วงที่ 1 ไม่บรรลุเป้าหมายจำนวน 3 ตัวชี้วัด ซึ่งสำนักวัณโรคได้ดำเนินการเร่งรัดเพื่อเพิ่มผลการดำเนินงานสะสมในช่วงที่ 2 ให้บรรลุเป้าหมาย • สำนักวัณโรครายงานผลการดำเนินงานวัณโรคในชุมชน 2 ตัวชี้วัด ในรายงานช่วงที่ 2 (ต.ค. – ธ.ค. 52) ซึ่งได้แจ้งให้พื้นที่ทราบเรียบร้อยแล้ว • งบประมาณกิจกรรมวัณโรคในชุมชน เบิกจ่ายตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2552 เมื่อได้รับงบประมาณสนับสนุน