190 likes | 522 Views
มะพร้าว. COCONUT Scientific name :- Cocos nusifera ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค. แหล่งผลิต. ระดับโลก :- 85 % อยู่ในแถบเอเชียแปซิฟิก เช่น ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย อินเดีย ศรีลังกา ไทยฯลฯ
E N D
มะพร้าว COCONUT Scientific name :- Cocos nusifera ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
แหล่งผลิต ระดับโลก :- 85% อยู่ในแถบเอเชียแปซิฟิก เช่น ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย อินเดีย ศรีลังกา ไทยฯลฯ ในประเทศไทย :-ผลิตเพียงพอสำหรับการใช้ภาย ในประเทศ (Domestic consumption) แหล่งผลิตที่สำคัญ คือ ภาคใต้ ภาค กลางแถบ ปากแม่น้ำเจ้าพระยา และ ภาคตะวันออก
ปัญหาการผลิตในประเทศไทยปัญหาการผลิตในประเทศไทย • เป็นมะพร้าวที่มีอายุมาก เป็นพันธุ์ดั้งเดิม ผลผลิตจึงน้อย • มีการขยายตัวทางด้านการผลิต (ผลผลิต/พื้นที่และพื้นที่ปลูก) น้อย • พื้นที่ปลูกส่วนมากเป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม ความอุดมสมบูรณ์น้อย (พื้นที่สมบูรณ์และเหมาะสมนำไปใช้ประโยชน์ด้านอื่น)
ถิ่นกำเนิด เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพราะพบว่ามีความหลากหลายทางพันธุกรรมมาก เช่น อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย
พันธุ์ ใช้อายุการตกผล(เริ่มให้ผลผลิต) และขนาดของต้นและผลเป็นเกณฑ์ ซึ่งจำแนกได้ คือ *มะพร้าวกลางส่วนมากจะเกิดจากการผสมพันธุ์ระหว่างมะพร้าวหนักกับมะพร้าวเบา
มะพร้าวลูกผสม มะพร้าวเป็นพืชที่มีการผสมตัวเอง และผสมข้าม ฉะนั้นการปลูกเพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดี จะเป็นพันธุ์มะพร้าวลูกผสมรุ่นที่ 1 (F1 hybrid) เช่น มะพร้าวพันธุ์สวีลูกผสม 1 ชุมพรลูกผสม 1 และ MAWA เป็นต้น
สภาพแวดล้อมที่เหมาะ สำหรับการปลูกมะพร้าว • TROPICAL AREA • ชอบความชื้น (RH. 80-90 % ) ต้องการแสงมาก • (>2,000 ชม/ปี) สูงกว่าระดับน้ำทะเลไม่เกิน 600เมตร • ดิน ที่ดีสำหรับมะพร้าวควรเป็นดินที่มีอนุภาคดินเหนียวมากเพราะจะมีแร่ธาตุ โพแตสเซียม (K) ซึ่งจำเป็นสำหรับมะพร้าว
วัสดุปลูก นำผลที่แก่เต็มที่ (Physical maturity) มาทำการเพาะ จนแตกหน่อ เมื่อหน่อมีอายุ5-6 เดือนก็นำไปปลูกในแปลง
การปลูก • ระยะปลูก 8-9 เมตร/ต้น จะได้ 22-25 ต้น/ไร่ • ควรมีการเตรียมดินที่ดี ขุดหลุมใส่ปุ๋ยอินทรีย์ แล้วปลูกในช่วงฤดูฝน
การดูแลรักษา • ให้น้ำสำหรับการตั้งตัวเท่านั้น กรณีที่ฝนทิ้งช่วง • การป้องกันกำจัดวัชพืช - พืชคลุมดิน • - ถากและถาง • การใส่ปุ๋ย การใส่ธาตุอาหารจากดินในแต่ละปี คือ • ไนโตรเจน 9.44-14.56 กก. /ไร่ • ฟอสฟอรัส 4.32-6.40 กก. /ไร่ • โพแตสเซียม 13.60-20.96 กก. /ไร่
การใส่ปุ๋ย • ควรใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ควบคู่กับปุ๋ยวิทยาศาสตร์ • ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ที่ใช้อาจจะเป็นสูตร 13-13-21 หรือสูตร 12-12-17-2
โรค • โรคยอดเน่า (Heart leaf rot) เกิดจากเชื้อPythium sp. • โรคใบจุด (Helminthosporium leaf spot) เกิดจากเชื้อราHelminthosporium sp.
แมลง • มีด้วงแรดมะพร้าว (Rhinoceros beetle)
การเก็บเกี่ยว • ควรพิจารณาถึงการนำไปใช้ประโยชน์เป็นหลัก • มะพร้าวอ่อน - อายุ 5-6 เดือน • มะพร้าวแก่ - กะทิสด 10 เดือน • มะพร้าวสุด - มะพร้าวแห้ง 72 เดือน
การใช้ประโยชน์ - บริโภค • อุตสาหกรรมมะพร้าวแห้ง • อุตสาหกรรมน้ำมันมะพร้าว • อุตสาหกรรมกะทิเข้มข้น • อุตสาหกรรมมะพร้าวขูดแห้ง • มะพร้าวอ่อน
การใช้ประโยชน์ - อื่น ๆ • อุตสาหกรรมการผลิตเส้นใยมะพร้าว • ไม้มะพร้าว