350 likes | 2.16k Views
มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง และสมรรถนะของสำนักงานศาลยุติธรรม. ขอบเขต.
E N D
มาตรฐานกำหนดตำแหน่งและสมรรถนะของสำนักงานศาลยุติธรรมมาตรฐานกำหนดตำแหน่งและสมรรถนะของสำนักงานศาลยุติธรรม
ขอบเขต 1. ทบทวนตำแหน่งและสายงานของสำนักงานศาลยุติธรรม 2. ภาพรวมของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 3. หน้าที่ความรับผิดชอบและคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง - ประเภทบริหาร - ประเภทอำนวยการ - ประเภทวิชาการ - ประเภททั่วไป 7. ความรู้ ความสามารถ และทักษะ 8. สมรรถนะของข้าราชการศาลยุติธรรม
การจัดตำแหน่งและสายงาน ของสำนักงานศาลยุติธรรม
นิยามประเภทตำแหน่งของสำนักงานศาลยุติธรรมนิยามประเภทตำแหน่งของสำนักงานศาลยุติธรรม ตำแหน่งประเภทบริหาร (Senior Executive Service) ได้แก่ ตำแหน่งในฐานะผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสำนักงานศาลยุติธรรม หรือผู้ปฏิบัติงานตรวจและแนะนำการปฏิบัติราชการของสำนักงานศาลยุติธรรม มีหน้าที่กำหนดนโยบาย พันธกิจ ยุทธศาสตร์ และทิศทางการดำเนินงาน ของสำนักงานศาลยุติธรรม รวมทั้ง กำกับ ควบคุม ให้คำแนะนำ ตัดสินใจ โดยทั่วไปซึ่งราชการของสำนักงานศาลยุติธรรมให้เป็นไปตามกฎหมาย และระเบียบของทางราชการ หรือตำแหน่งอื่นที่ ก.ศ. กำหนดให้เป็นตำแหน่งประเภทบริหาร
ตำแหน่งประเภทบริหาร จำนวน 10 อัตรา
นิยามประเภทตำแหน่งของสำนักงานศาลยุติธรรมนิยามประเภทตำแหน่งของสำนักงานศาลยุติธรรม ตำแหน่งประเภทอำนวยการ (Middle Management) ได้แก่ ตำแหน่งหัวหน้าหน่วยงานในสำนักงานศาลยุติธรรมซึ่งเป็นหน่วยงานที่กำหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมว่าด้วยการแบ่งส่วนราชการและการกำหนดอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานในสำนักงานศาลยุติธรรม
ตำแหน่งประเภทอำนวยการ จำนวน 265 อัตรา
นิยามประเภทตำแหน่งของสำนักงานศาลยุติธรรมนิยามประเภทตำแหน่งของสำนักงานศาลยุติธรรม ตำแหน่งประเภทวิชาการ (Knowledge Worker) ได้แก่ ตำแหน่งในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนาระบบ หรือกำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์หรือวิธีการดำเนินงานเฉพาะด้าน ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานตามภารกิจที่รับผิดชอบ รวมทั้งให้คำปรึกษา แนะนำ ในสาขาเฉพาะต่อผู้บริหาร หัวหน้าหน่วยงาน หน่วยงานในสำนักงานศาลยุติธรรมและหน่วยงานภายนอก เพื่อให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับทิศทาง นโยบาย พันธกิจและยุทธศาสตร์ของศาลยุติธรรมและสำนักงานศาลยุติธรรม ซึ่งจำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตามที่ ก.ศ. กำหนด เพื่อปฏิบัติงานในหน้าที่ของตำแหน่งนั้น
ตำแหน่งประเภทวิชาการ จำนวน 5,766 อัตรา
นิยามประเภทตำแหน่งของสำนักงานศาลยุติธรรมนิยามประเภทตำแหน่งของสำนักงานศาลยุติธรรม ตำแหน่งประเภททั่วไป (Operational Worker) ได้แก่ ตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานธุรการ งานสนับสนุนทั่วไป และงานเทคนิคเฉพาะด้าน เป็นงานที่ปฏิบัติภายใต้กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีปฏิบัติที่ชัดเจน เน้นการใช้ทักษะ และฝีมือในการปฏิบัติงาน
ตำแหน่งประเภททั่วไป จำนวน 5,334 อัตรา
แผนภูมิแสดงอัตรากำลังข้าราชการศาลยุติธรรมแผนภูมิแสดงอัตรากำลังข้าราชการศาลยุติธรรม รวม11,414 อัตรา ที่มา : กลุ่มตำแหน่งและอัตรากำลัง สำนัก ก.ศ. (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ต.ค. 52)
มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ของข้าราชการศาลยุติธรรม
1. ความหมาย คำบรรยายบทบาทหน้าที่ ข้อกำหนดสมรรถนะ คุณสมบัติของคนในองค์กร
คุณลักษณะของมาตรฐานกำหนดตำแหน่งคุณลักษณะของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง งานในตำแหน่งนั้นมีงานหลักอะไรบ้าง งานหลักแต่ละด้านมีกิจกรรมหลักอะไรบ้าง องค์กรคาดหวังอะไรจากงานหลักในแต่ละสายงาน ตำแหน่งนั้นอยู่ตรงไหนของโครงสร้าง ระดับความรับผิดชอบต่อองค์กรมีมากน้อยเพียงใด ความท้าทายของงานในตำแหน่งนั้นมีอะไร คนที่มีคุณสมบัติแบบไหนจึงจะทำงานในตำแหน่งนี้ได้
ประโยชน์ของการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งประโยชน์ของการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง (Job Description / Role Profile) เป็นจุดเริ่มต้นของการออกแบบระบบอื่นๆ ของการบริหารงานบุคคล ได้แก่ - ระบบการสรรหาคัดเลือกบุคลากร (Recruitment and Selection) - ระบบการพัฒนาและฝึกอบรม (Training and Development) - ระบบความก้าวหน้าในอาชีพ (Career Development) - ระบบการประเมินผลงานประจำปี (Performance Appraisal) - ระบบค่าตอบแทน (Compensation)
2. หน้าที่ความรับผิดชอบ 3. ลักษณะงานที่ปฏิบัติ 5. หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก เช่น 5.1 ด้านปฏิบัติการ 5.2 ด้านวางแผน 5.3 ด้านการประสานงาน 5.4 ด้านบริการ
มาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่มาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ - หน้าที่ความรับผิดชอบ 1. ด้านปฏิบัติการ 2. ด้านการวางแผน - คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง - ความรู้ ความสามารถ ทักษะ - สมรรถนะ ตำแหน่งประเภท ชื่อสายงาน ชื่อตำแหน่ง ระดับ ระบุหน้างานและรายละเอียดหน้าที่ความรับผิดชอบของชั้นงาน ในแต่ละสายงาน ระบุคุณวุฒิและระยะเวลาในการดำรงตำแหน่ง ระบุความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่จำเป็นในงาน ระบุสมรรถนะที่จำเป็นของแต่ละสายงาน
การจัดชั้นความยากของระดับตำแหน่ง (Job Grading) องค์ประกอบในการจัดชั้นงาน 1. ลักษณะงาน 2. หน้าที่และความรับผิดชอบของงาน 3. ระดับความยากง่ายของงาน
ตัวอย่างการจัดขั้นงานตัวอย่างการจัดขั้นงาน ตำแหน่งประเภทวิชาการ
มาตรฐานกำหนดตำแหน่งประเภทบริหารมาตรฐานกำหนดตำแหน่งประเภทบริหาร สายงาน บริหาร ประเภทบริหาร สายงานตรวจราชการ
สายงานบริหาร ระดับสูง หน้าที่ความรับผิดชอบ 1) ด้านปฏิบัติการ (1) แปลงโยบายของประธานศาลฎีกา เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรม นโยบาย แผนยุทธศาสตร์ เพื่อกำหนดทิศทางการปฏิบัติราชการในสำนักงานศาลยุติธรรมทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพื่อให้การดำเนินงานในสำนักงานศาลยุติธรรมมีทิศทาง และเป้าหมาย การปฏิบัติงานที่ชัดเจน สอดคล้องกับนโยบาย แผนงาน รองเลขาธิการ 2) ด้านการบริหารบุคคล (1) กำกับดูแลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลตามหลักคุณธรรมเพื่อให้เกิดความโปร่งใสและเป็นธรรม และเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ สั่งสมพัฒนาความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ในการปฏิบัติราชการของสำนักงานศาลยุติธรรม
3) ด้านการจัดการทรัพยากรและงบประมาณ (1) กำหนดนโยบายและกำกับดูแลงานจัดทำแผนและงบประมาณ บริหารจัดหาปัจจัยที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ นโยบาย ภารกิจ เป้าหมาย การดำเนินของศาลยุติธรรมและสำนักงานศาลยุติธรรม 4) ด้านการวางแผนการทำงาน (1) วางแผนแนวทางการพัฒนาระบบงาน ปรับปรุงกฎเกณฑ์ เพื่อบริหารให้การปฏิบัติงานในศาลยุติธรรม และสำนักงานศาลยุติธรรมมีประสิทธิภาพสูงสุด
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง 1) วุฒิปริญญาตรีหรืออย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน 2) ดำรงตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่งมาแล้ว ดังนี้ - บริหารระดับต้น 1 ปี - อำนวยการและบริหารระดับต้น รวมกันไม่น้อยกว่า 3 ปี - วิชาการ ระดับทรงคุณวุฒิ และเคยดำรงตำแหน่งประเภทบริหารไม่น้อยกว่า 2 ปี 3) ผ่านการอบรมหลักสูตรนักบริหารระดับสูง
ประเภทอำนวยการ ต้น อำนวยการ สูง • อำนวยการเฉพาะด้าน • นิติการ • บรรณรักษ์ • วิชาการคอมพิวเตอร์ • บริหารงานออกแบบและก่อสร้าง ต้น สูง
หน้าที่ความรับผิดชอบ วางแผน บริหารจัดการ จัดระบบงาน อำนวยการ สั่งราชการ มอบหมาย กำกับ และทำประเมินผล ตัดสินใจแก้ปัญหาในงานมีลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานสูงมาก ต้น อำนวยการ วางแผน บริหารจัดการ จัดระบบงาน อำนวยการ สั่งราชการ มอบหมาย กำกับ และทำประเมินผล ตัดสินใจแก้ปัญหาในงานมีลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานสูงมากเป็นพิเศษ สูง
อำนวยการ ระดับต้น 1) ด้านแผนงาน (1) วางระบบโครงการหรือแผนการปฏิบัติงานและแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องในการปฏิบัติงานเพื่อกำหนดเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของหน่วยงานให้สอดคล้องกับนโยบายยุทธศาสตร์และแผนกลยุทธ์ของศาลยุติธรรมและสำนักงานศาลยุติธรรม 2) ด้านการบริหารงาน (1) จัดระบบงานและวิธีการปฏิบัติราชการของหน่วยงานเพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติราชการของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานที่รับผิดชอบ 3) ด้านการบริหารงานทรัพยากรบุคคล (1) จัดระบบงานและอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานให้สอดคล้องกับภารกิจเพื่อให้การปฏิบัติราชการเกิดประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4) ด้านการบริหารทรัพยากรและงบประมาณ (1) วางแผนการใช้ทรัพยากรและงบประมาณของหน่วยงาน เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายประธานศาลฎีกาพันธกิจ เป้าหมายของศาลยุติธรรมและสำนักงานศาลยุติธรรม
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง 1) คุณวุฒิตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ 2) ดำรงตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง - อำนวยการ ระดับต้น - วิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษไม่น้อยกว่า 3 ปี - ทั่วไป ระดับอาวุโสไม่น้อยกว่า 6 ปี 3) มีประสบการณ์ในงานที่หลากหลายสำหรับตำแหน่งประเภทอำนวยการ 1) คุณวุฒิตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ 2) ดำรงตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง - อำนวยการ ระดับสูง - อำนวยการ ระดับต้นไม่น้อยกว่า 1 ปี - วิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ - วิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ 4 ปี - ทั่วไป ระดับทักษะพิเศษ - ทั่วไป ระดับอาวุโส 7 ปี 3) มีประสบการณ์ในงานที่หลากหลายสำหรับตำแหน่งประเภทอำนวยการ ต้น สูง