360 likes | 671 Views
ทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น. การดำเนินการของเซตของเหตุการณ์. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายคาบ. 1. หายูเนียน (Union), อินเตอร์เซ็กชั่น (Intersection), คอมพลีเมนต์ (Complement) และผลต่าง (Difference) ของเหตุการณ์ที่กำหนดให้ได้.
E N D
ทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็นทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น
การดำเนินการของเซตของเหตุการณ์การดำเนินการของเซตของเหตุการณ์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายคาบ 1. หายูเนียน (Union), อินเตอร์เซ็กชั่น (Intersection), คอมพลีเมนต์ (Complement) และผลต่าง (Difference) ของเหตุการณ์ที่กำหนดให้ได้ 2. บอกได้ว่าเหตุการณ์ที่กำหนดให้ 2 เหตุการณ์ใดๆ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดร่วมกัน หรือไม่
การดำเนินการของเซตของเหตุการณ์การดำเนินการของเซตของเหตุการณ์
ทบทวน การดำเนินการ สัญลักษณ์ ความหมาย ตัวอย่างเมื่อU={1,2,3,4,5,6}A={1,2,3} ,B={2,3,4} ยูเนียน (Union) เอาสมาชิกรวมกัน A B={1,2,3,4} อินเตอร์เซ็กชั่น (Intersection) หาสมาชิกร่วมกัน A B={2,3} ผลต่าง (Difference) ลบ สมาชิกที่ซ้ำกับเซตหลังออก A B = {1} B A = {4} คอมพลีเมนต์(Complement) ’ สมาชิกที่ไม่อยู่ในเซตนั้นแต่อยู่ใน U A’ = {4,5,6} B’ = {1,5,6} การกระทำกันของเซต
บทนิยามที่ 1ถ้า E1 และ E2 เป็นเหตุการณ์สองเหตุการณ์ แล้ว ยูเนียนของเหตุการณ์ E1 และ E2 เป็นเหตุการณ์ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกของเหตุการณ์ E1 หรือของเหตุการณ์ E2 หรือทั้งสองเหตุการณ์ ซึ่งเขียนแทนด้วย E1 E2 คือเอาสมาชิก E1รวม กับ E2 E1 E2 ดังนั้น E1 E2 = { 1,3,5,6 } ยูเนียนของเหตุการณ์ (Union of Events) ตัวอย่างที่ 1 ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง จะได้ว่า แซมเปิลสเปซ S = { 1,2,3,4,5,6 } ให้ E1 เป็นเหตุการณ์ที่ได้แต้มซึ่งหารด้วย 3 ลงตัว นั่นคือ E1= { 3,6 } นั่นคือ E2= { 1,3,5} ให้ E2 เป็นเหตุการณ์ที่ได้แต้มเป็นจำนวนคี่
อินเตอร์เซ็กชั่นของเหตุการณ์ (Intersection Events) บทนิยามที่2 ถ้า E1 และ E2 เป็นเหตุการณ์สองเหตุการณ์ แล้ว อินเตอร์เซ็กชั่นของเหตุการณ์ E1 และ E2 เป็นเหตุการณ์ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่อยู่ในเหตุการณ์ E1 และเหตุการณ์ E2 เขียนแทนด้วย E1 E2 คือหาสมาชิก E1ร่วม กับ E2 E1 E2 ดังนั้น E1 E2 = { ตัวอย่างที่2ในการโยนเหรียญ 3 อัน 1 ครั้ง จะได้ว่า แซมเปิลสเปซ S = {HHH,HHT,HTH,HTT,THH,THT,TTH,TTT} ให้ E1 เป็นเหตุการณ์ที่โยนได้หัว 2 ครั้งนั่นคือ E1={HHT,HTH,THH} ให้ E2 เป็นเหตุการณ์ที่ได้หัวในการโยนครั้งแรกนั่นคือ E2= {HHH,HHT,HTH,HTT} HHT, HTH }
บทนิยามที่ 3ถ้า E เป็นเหตุการณ์ซึ่งอยู่ในแซมเปิลสเปซ S แล้ว คอมพลีเมนต์ของเหตุการณ์ E คือ เหตุการณ์ที่ประกอบด้วยสมาชิกที่อยู่ในแซมเปิลสเปซ S แต่ไม่อยู่ในเหตุการณ์ E ซึ่งเขียนแทนด้วย คือสมาชิกที่ไม่อยู่ในเซตนั้นแต่อยู่ใน U ดังนั้น = { HT,TH,TT } คอมพลีเมนต์ของเหตุการณ์ (Complement of an Events) ตัวอย่างที่ 3ในการโยนเหรียญ 2 อัน 1 ครั้ง จะได้ว่า แซมเปิลสเปซ S = {HH,HT,TH,TT} ให้ E เป็นเหตุการณ์ที่โยนได้หัวทั้ง 2 เหรียญนั่นคือ E = {HH}
คือลบสมาชิก E1ที่ซ้ำกับ E2 ออก E1 E2 ดังนั้น E1 E2 = { 6 } ผลต่างของเหตุการณ์ (Difference of Events) บทนิยามที่ 4 ถ้า E1 และ E2 เป็นเหตุการณ์สองเหตุการณ์ แล้วผลต่างของ E1 และ E2 หมายถึง เหตุการณ์ที่ประกอบด้วยผลลัพธ์ใน E1 แต่ไม่เป็นผลลัพธ์ใน E2 เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ E1 - E2 ตัวอย่างที่ 4 ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง จะได้ว่า แซมเปิลสเปซ S = { 1,2,3,4,5,6 } ให้ E1 เป็นเหตุการณ์ที่ได้แต้มซึ่งหารด้วย 3 ลงตัวนั่นคือ E1= { 3,6 } ให้ E2 เป็นเหตุการณ์ที่ได้แต้มเป็นจำนวนคี่นั่นคือ E2= { 1,3,5}
บทนิยามที่ 5 ถ้า E1 และ E2 เป็นเหตุการณ์สองเหตุการณ์ที่มี E1 E2 = แล้วจะเรียกเหตุการณ์ E1 และ E2 ว่าเหตุการณ์ที่ไม่เกิดร่วมกัน เหตุการณ์ที่ไม่เกิดร่วมกันคือเหตุการณ์ที่ = ดังนั้น E1 E2 = E1 E2 เหตุการณ์ที่ไม่เกิดร่วมกัน (Mutually Exclusive Events) ตัวอย่างที่ 4 ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง จะได้ว่า แซมเปิลสเปซ S = { 1,2,3,4,5,6 } ให้ E1 เป็นเหตุการณ์ที่ได้แต้มเป็นจำนวนคู่นั่นคือ E1= { 2,4,6} ให้ E2 เป็นเหตุการณ์ที่ได้แต้มเป็นจำนวนคี่นั่นคือ E2= { 1,3,5}
แบบฝึกทักษะที่ 2 ทฤษฏีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น
1. โยนลูกเต๋า 1 ลูก ใน 1 ครั้ง ผลลัพธ์ที่สนใจ คือ แต้มของลูกเต๋า จะได้ว่า 1) แซมเปิลสเปซ คือ 2) ให้ E1 แทนเหตุการณ์ที่ได้แต้มเป็นจำนวนคู่ E2 แทนเหตุการณ์ที่ได้แต้มเป็นจำนวนเฉพาะ
เอาสมาชิกรวมกัน 3) ยูเนียนของเหตุการณ์ E1 และ E2 คือ หาสมาชิกร่วมกัน 4) อินเตอร์เซ็กชันของเหตุการณ์ E1 และ E2 คือ
2. มีคน 5 คน ในจำนวนนี้ มี นายดำและนายแดงรวมอยู่ด้วย ให้คนทั้งหมดเรียงแถวยาวอย่างสุ่ม จะได้ว่า ยืนต่ำแหน่งที่ 1ทั้ง 5 คนมีสิทธิ์นั่ง 5 วิธี ยืนต่ำแหน่งที่ 2 เหลือ 4 คนมีสิทธิ์นั่ง 4 วิธี ยืนต่ำแหน่งที่ 3 เหลือ 3 คนมีสิทธิ์นั่ง 3 วิธี 1) จำนวนผลลัพธ์ในแซมเปิลสเปซ คือ นายแดงยืนติดนายดำวิธีคิดมัดนายแดงกับนายดำไว้ด้วยกันเหลืออีก 3 คน สิ่งที่นำมาจัดจาก 5 วิธีเป็น 4 วิธี ตำแหน่งที่ 1 มีสิทธ์นั่ง 4 วิธี เหตุการณ์ที่นายแดงและนายดำยืนติดกัน นายแดงยืนติดนายดำสลับได้อีก 2 วิธีจึงต้องคูณด้วย 2 2) ให้ E แทนเหตุการณ์ที่นายดำและนายแดงยืนแยกจากกันจงหา
3. โยนลูกเต๋า 1 ลูก ใน 1 ครั้ง ผลลัพธ์ที่สนใจ คือ แต้มของลูกเต๋าให้ E1 แทนเหตุการณ์ที่ได้แต้มเป็นจำนวนคี่ E2 แทนเหตุการณ์ที่ได้แต้มเป็นจำนวนที่หารด้วย 3 ลงตัว E3 แทนเหตุการณ์ที่ได้แต้มเป็นจำนวนที่มากกว่า 2 จงหา 1) แซมเปิลสเปซ คือ S = { 1 , 2 , 3 , 4 , 5, 6 } E1 ={1 , 3 , 5} 2) E1 , E2 , E3 E2 ={ 3 , 6} E3 ={3 , 4 , 5 ,6 }
เอาสมาชิกรวมกัน เอาสมาชิกรวมกัน
4. กล่องใบหนึ่งมีลูกบอลสีแดง หมายเลข 1, 2, 3, 4 หมายเลขละลูก และมีลูกบอลสีขาวหมายเลข 1, 2, 3, 4, 5 หมายเลขละลูก สุ่มหยิบ ลูกบอล 1 ลูก จากกล่องใบนี้ จะได้ว่า 1) แซมเปิลสเปซ คือ , , , , S = { , , , , 3 } 1 2 4 5 1 2 3 4 • ให้ E1 แทนเหตุการณ์ที่ได้ลูกบอลสีแดง E2 แทนเหตุการณ์ที่ได้ลูกบอล หมายเลขที่เป็นจำนวนคู่ จงหา E1 , E2 , , , E1 = { } , , , E2 = { }
3) หา E1 - E2 และ E2 - E1 สมาชิกอยู่ใน E1แต่ไม่อยู่ใน E2 E1 = { , , , } 1 1 2 3 3 4 E2 = { , , , } 2 4 2 4 2 4 E1- E2 = { } , E2- E1={ } , สมาชิกอยู่ใน E2แต่ไม่อยู่ใน E1
5. โยนลูกเต๋า 2 ลูก ใน 1 ครั้ง ผลลัพธ์ที่สนใจ คือ ผลรวมแต้มของลูกเต๋าทั้งสองลูก จะได้ว่า 1) แซมเปิลสเปซ คือ S = { 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 , 9 , 10 , 11 , 12 } 2) ให้ E1 แทนเหตุการณ์ที่ได้ผลรวมแต้มไม่น้อยกว่า 10 E2 แทนเหตุการณ์ที่ได้ผลรวมแต้มเป็นจำนวนที่หารด้วย 5 ลงตัว จงหา E1 , E2 E1 = { 10 , 11 , 12 } E2 = { 5 , 10 }
3) หา E1 E2 และ E2 E1 เอาสมาชิกรวมกัน หาสมาชิกร่วมกัน E1 = { 10 , 11 , 12 } E2 = { 5 , 10 }
แต้มของลูกเต๋าที่ขึ้นแต้มของลูกเต๋าที่ขึ้น หน้าของเหรียญ 6. โยนเหรียญ 1 เหรียญ และลูกเต๋า 1 ลูกใน 1 ครั้ง ผลลัพธ์ที่สนใจ คือ หน้าของเหรียญและแต้มของลูกเต๋าที่ขึ้น แต้มของลูกเต๋าที่ขึ้น หน้าของเหรียญ 1) จงหาแซมเปิลสเปซ S = { (H,1),(H,2),(H,3),(H,4),(H,5),(H,6), (T,1),(T,2),(T,3),(T,4),(T,5),(T,6)}
เหรียญขึ้นหน้าหัว แต้มของลูกเต๋าเป็นจำนวนคี่ 2) ให้ E1 แทนเหตุการณ์ที่เหรียญขึ้นหน้าหัว E2 แทนเหตุการณ์ที่ได้แต้มของลูกเต๋าเป็นจำนวนคี่ จงหา E1 , E2 E1 = { (H,1),(H,2),(H,3),(H,4),(H,5),(H,6) } E2 = { (T,1),(H,1),(T,3),(H,3),(T,5),(H,5) } 3) หา E1 - E2 และ E2 - E1 E1 - E2 = { (H,2),(H,4),(H,6) } E2 - E1 = { (T,1),(T,3),(T,5) }
7. สุ่มหยิบไพ่ 1 ใบ จากไพ่สำรับหนึ่ง ผลลัพธ์ที่สนใจ คือ ดอกไพ่ที่ได้ จงหาว่า 2) ให้ E แทนเหตุการณ์ที่ได้ไพ่โพแดง จงหา E และ = {Aโพดำ, 2โพดำ, 3โพดำ, . . . ,J โพดำ , Qโพดำ, Kโพดำ Aหลามตัด, 2หลามตัด , 3หลามตัด, . . . ,J หลามตัด,Qหลามตัด, Kหลามตัด Aดอกจิก,2ดอกจิก, 3ดอกจิก, . . . ,Jดอกจิก,Qดอกจิก, Kดอกจิก} 1) แซมเปิลสเปซ ไพ่สำรับหนึ่งมี 52 ใบ E = { Aโพแดง,2โพแดง, 3โพแดง, . . . ,J โพแดง,Qโพแดง, Kโพแดง}
8. สุ่มหยิบไพ่ 1 ใบ จากไพ่สำรับหนึ่ง ผลลัพธ์ที่สนใจ คือ แต้มของ ไพ่ที่เป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ได้ จงหาว่า 1) แซมเปิลสเปซ คือ S = {Aดอกจิก, Aหลามตัด, A โพแดง, A โพดำ , Jดอกจิก, J ข้าวหลามตัด, J โพแดง, J โพดำ , Qดอกจิก, Q ข้าวหลามตัด, Q โพแดง, Q โพดำ , Kดอกจิก, K ข้าวหลามตัด, K โพแดง, K โพดำ} 2) ให้ E แทนเหตุการณ์ที่ได้ไพ่ J จงหา E E = { Jดอกจิก, Jข้าวหลามตัด, Jโพแดง, Jโพดำ}
9. กล่องใบหนึ่งมีลูกปิงปองสีขาว 3 ลูกสีแดง 2 ลูกสีเขียว 1 ลูกสุ่มหยิบลูกปิงปอง จากกล่องสามลูกจงหา 1 2 3 1 2 1 1) แซมเปิลสเปซคือ มีลูกปิงปอง6 ลูก ต้องการเลือกมา 3 ลูก n=6 r=3 แทนค่าในสูตร จะได้ดั้งนี้ 1 2 3 1 2 1 1 2 2 1 2 1 1 3 1 1 3 2 1 3 1 1 1 2 1 1 1 1 2 1 2 3 1 2 3 1 2 3 2 2 1 2 2 1 1 2 2 1 3 1 2 3 1 1 3 2 1 1 2 1 สามารถหาได้จากการคำนวณ
มีลูกปิงปองที่ไม่ใช่สีแดง 4 ลูก ต้องการเลือกมา 1 ลูก n=4 r=1 แทนค่าในสูตร จะได้ดั้งนี้ 2) ให้ E1 แทนเหตุการณ์ที่ได้ลูกบอลสีแดงสองลูก E2 แทนเหตุการณ์ที่ได้ลูกบอลสีขาวเพียงหนึ่งลูก จงหา E1 , E2 มีลูกปิงปองสีแดง3 ลูก ต้องการเลือกมา 2 ลูก n=2 r=2 แทนค่าในสูตร จะได้ดั้งนี้ 1 1 2 3 1 2 1 2 1 2 2 1 สามารถหาได้จากการคำนวณ มีลูกปิงปองไม่ใช่สีขาว 3 ลูก ต้องการเลือกมา 1 ลูก n = 3 r =1 แทนค่าในสูตร จะได้ดั้งนี้ มีลูกปิงปองสีขาว 3 ลูก ต้องการเลือกมา 1 ลูก n = 3 r =1 แทนค่าในสูตร จะได้ดั้งนี้ 1 1 1 1 1 2 1 2 1 2 2 1 2 1 2 2 1 1 3 1 1 3 2 1 3 1 2 สามารถหาได้จากการคำนวณ
3) หา E1 E2 , E2 E1 และ E1 - E2 1 1 2 3 1 2 2 1 1 2 1 2 ทุกตัวเป็นสมาชิกของเซต E2 สมาชิกที่อยู่ในE1ที่ไม่อยู่ใน E2 1 1 1 1 1 2 1 2 1 2 2 1 2 1 2 สมาชิกที่อยู่ทั้งในE1และE2 2 1 1 3 1 1 3 2 1 3 1 2 1 1 1 1 1 2 1 2 1 2 2 1 2 1 2 2 1 1 3 1 1 3 2 1 3 1 2 1 2 1 สมาชิกที่อยู่ในE1ที่แต่ไม่อยู่ใน E2 1 1 2 3 1 2 2 1 2 1 2 1
4) หา n( E1 ) , n( E2 ) และ n( E2 E1 ) 1 1 2 3 1 2 2 1 1 2 1 2 1 1 1 1 1 2 1 2 1 2 2 1 2 1 2 2 1 1 3 1 1 3 2 1 3 1 2 1 1 2 3 1 2 2 1 2
10. กล่องใบหนึ่งมีลูกปิงปองซึ่งมีหมายเลข 1, 2, 3, 4 หมายเลขละ 1 ใบ สุ่มหยิบลูกปิงปองออกมา 2 ลูกพร้อมกันผลลัพธ์ที่สนใจคือหมายเลข ของลูกปิงปองที่หยิบได้จงหาว่า 1) แซมเปิลสเปซคือ 2 1 1 1 2 2 3 3 3 4 4 4 S = { , , , , , } 2) ให้ E1 แทนเหตุการณ์ที่ได้หมายเลขเป็นจำนวนคู่ทั้งสองลูก E2 แทนเหตุการณ์ที่ได้ผลรวมของหมายเลขทั้งสองเป็นจำนวนคี่ จงหา E1 , E2 E1 = { ( 2,4 ) } E2 = { ( 1,2 ) , ( 1,4 ) , ( 2,3 ) , ( 3,4 ) }
3) หา E1 E2 , E2 E1 และ E1 - E2 จาก E1 = { ( 2,4 ) } E2 = { ( 1,2 ) , ( 1,4 ) , ( 2,3 ) , ( 3,4 ) } เนื่องจากไม่มีสมาชิกร่วมกันใน E1และ E2
4) หา n( E1 ) , n( E2 ) และ n( E2 E1 ) จาก จาก E1 = { ( 2,4 ) } E2 = { ( 1,2 ) , ( 1,4 ) , ( 2,3 ) , ( 3,4 ) }
11. กล่องใบหนึ่งมีลูกปิงปองซึ่งมีหมายเลข 1, 2, 3, 4 หมายเลขละ 1 ใบ สุ่มหยิบลูกปิงปองออกมา 2 ลูกโดยหยิบทีละลูกแล้วใส่คืนที่ผลลัพธ์ที่ สนใจคือหมายเลขของลูกปิงปองที่หยิบได้จงหาว่า 1) แซมเปิลสเปซคือ S = { ( 1,1 ) , ( 1,2 ) , ( 1,3 ) , ( 1,4 ) , ( 2,1 ) , ( 2,2 ) , ( 2,3 ) , ( 2,4 ) , ( 3,1 ) , ( 3,2 ) ( 3,3 ) , ( 3,4 ) , ( 4,1 ) , ( 4,2 ) , ( 4,3 ) , ( 4,4 ) } 2) ให้ E1 แทนเหตุการณ์ที่ได้หมายเลขเป็นจำนวนคู่ทั้งสองลูก E2 แทนเหตุการณ์ที่ได้ผลรวมของหมายเลขทั้งสองเป็นจำนวนคี่ จงหา E1 , E2 E1 = { ( 2,2 ) , ( 2,4 ) , ( 4,2 ) , ( 4,4 ) } E2 = { ( 1,2 ) , ( 1,4 ) , ( 2,1 ) , ( 2,3 ) , ( 3,2 ) , ( 3,4 ) , ( 4,1 ) , ( 4,3 ) }
3) หา E1 E2 , E2 E1 และ E1 - E2 จาก E1 = { ( 2,2 ) , ( 2,4 ) , ( 4,2 ) , ( 4,4 ) } E2 = { ( 1,2 ) , ( 1,4 ) , ( 2,1 ) , ( 2,3 ) , ( 3,2 ) , ( 3,4 ) , ( 4,1 ) , ( 4,3 ) } เนื่องจาก E1และ E2ไม่มีสมาชิกร่วมกันเลย
4) หา n( E1 ) , n( E2 ) และ n( E2 E1 ) เนื่องจากไม่มีสมาชิกในเซต จาก จาก E1 = { ( 2,2 ) , ( 2,4 ) , ( 4,2 ) , ( 4,4 ) } จาก E2 = { ( 1,2 ) , ( 1,4 ) , ( 2,1 ) , ( 2,3 ) , ( 3,2 ) , ( 3,4 ) , ( 4,1 ) , ( 4,3 ) }