1 / 39

เส้นทางอาชีพนักวิทยาศาสตร์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

เส้นทางอาชีพนักวิทยาศาสตร์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. Information Economy. หลายแสนปี. ยุคเติบโต. ยุคปึกแผ่นและเสื่อม. 10,000 ปี. 1950 ’ s. 1980. 2000. 2020. 2030. ด้านการทหาร. ด้านการเมือง. ด้านเศรษฐกิจ. เทคโนโลยี.

renee
Download Presentation

เส้นทางอาชีพนักวิทยาศาสตร์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เส้นทางอาชีพนักวิทยาศาสตร์เส้นทางอาชีพนักวิทยาศาสตร์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

  2. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Information Economy หลายแสนปี ยุคเติบโต ยุคปึกแผ่นและเสื่อม 10,000 ปี 1950’s 1980 2000 2020 2030 ด้านการทหาร ด้านการเมือง ด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยี

  3. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Information Economy หลายแสนปี ยุคเติบโต ยุคปึกแผ่นและเสื่อม 10,000 ปี สังคมเกษตร 1950’s 1980 2000 2020 2030 ล่าสัตว์และเก็บของป่า Green revolution IT technology Biotechnology Nanotechnology อาหาร สุขภาพ พลังงาน สิ่งแวดล้อม

  4. 1. เทคโนโลยีด้านการค้า 6. เทคโนโลยีการบริการ 11. พลังงานสะอาดพลังงานชีวมวล 12. น้ำ 2. เทคโนโลยีธุรกิจรายย่อย 7. เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน 3. คอมพิวเตอร์ 8. งานผีมือ 13. อาหาร 4. อุตสาหกรรมประกันภัย 9. ยานยนตร์ในอนาคต 14. โรคติดต่อ 15. เทคโนโลยีเพื่อผู้สูงอายุ 5. เทคโนโลยีสิ่งประดิษฐ์ 10. เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม

  5. Food Two-line hybrid rice Peiliangyou 88

  6. Medicine

  7. Environment Direct Observation Recent Air Temperature Change

  8. “อัจฉริยะสร้างได้”

  9. Cell..Chromosome..Gene..DNA

  10. ตัวการสำคัญที่จะทำให้ใครสักคนฉลาดมากหรือน้อยตัวการสำคัญที่จะทำให้ใครสักคนฉลาดมากหรือน้อย

  11. สมองซีกขวา อารมณ์ ความรู้สึก สมองซีกซ้าย ตรรกะ สมองซีกซ้าย กับ สมองซีกขวา • การวางแผน • ไวยากรณ์ • การหาข้อมูล • การจัดลำดับ • ดิจิตอล • มองภาพย่อย • ความตื่นเต้น • จินตภาพ จินตนาการ • การใช้ความแปลกใหม่ • ความสนุก ขี้เล่น • อนาล๊อก • มองภาพรวม • การใช้สญลักษณ์

  12. เหลืองน้ำเงินส้ม ดำ แดงเขียว ม่วงเหลืองแดง ส้มเขียว ดำ น้ำเงิน แดง ม่วง เขียวน้ำเงินส้ม

  13. ระดับของการพัฒนาเยาวชนระดับของการพัฒนาเยาวชน คิดค้นวิธีการจัดการสอดคล้องกับบริบทและความต้องการของสังคม ระดับของการพัฒนา นวัตกรรม ทำงานตามคำสั่ง วิจัยและพัฒนา เทคโนโลยี ทักษะ แรงงาน เวลา

  14. 4Qs IQ EQ MQ and SQ Intelligence Quotient Emotional Quotient Moral Quotient Survival Quotient

  15. บุคลิกภาพของคน Thinking กระบวนการคิด Sensingสติ Intuition สัญชาติญาณ Feeling ความรู้สึก

  16. ประเทศไทยกับวิกฤติทางปัญญาประเทศไทยกับวิกฤติทางปัญญา เส้นทางกระบวนการคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล • การใช้ประสาทสัมผัส • เหตุและผล • ความคิดสร้างสรร • ประดิษฐ์ • ความคิดเชิงนวัตกรรม • การคิดแบบมีกลยุทธ์ • อยากรู้อยากเห็น • เปรียบเทียบความเหมือน ความต่าง • ช่างซักช่างถาม • การจัดกลุ่ม • เชื่อมโยง • วิเคราะห์ สังเคราะห์ • จัดลำดับความสำคัญ • การวางแผน การคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผลจะสามารถช่วยให้เผชิญกับสภาวะสังคมที่เสียสมดุล (เคร่งเครียด) ได้อย่างเข้มแข็ง

  17. ยกตัวอย่างจากการซ้อมเตะฟุตบอลยกตัวอย่างจากการซ้อมเตะฟุตบอล

  18. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์กับการพัฒนาเส้นทางการเป็นนักวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์กับการพัฒนาเส้นทางการเป็นนักวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างชาติ

  19. สัดส่วนบุคลากรวิจัยและพัฒนา (FTE) ต่อประชากร 1,000 คน ของกลุ่มประเทศในเอเชีย ปี 2550 จีน (2005) China) ที่มา หนังสือดัชนีวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย ปี 2552 (สวทน.) จำนวนบุคลากรวิจัยและพัฒนาของไทย (ปี 2550) = 6.76 คน ต่อประชากร 10,000 คน (FTE)

  20. ปัจจุบัน ประสบการณ์จาก SCG • ยอดขาย 238,000 ล้านบาท (ปี 2552) • มีสินค้า HVA ~ 25% ของยอดขาย • ปี 2553 จะมีสัดส่วน HVA ~ 29% และตั้งเป้าหมายเพิ่มเป็น 50% ใน 5 ปีข้างหน้า อดีต • ซื้อเทคโนโลยีจากต่างประเทศ • ไม่มีเทคโนโลยีของตัวเอง ตัวอย่างสินค้าและบริการที่มีมูลค่าเพิ่ม (High Value Added – HVA) ผลิตภัณฑ์ทดแทนไม้ ปูนฉาบแต่งผิวบางสี กระดาษที่ เป็นมิตรกับ สวล. ปี 2546-2547 • ยอดขาย 200,000 ล้านบาท • มีค่าใช้จ่าย R&D ~ 40 ล้านบาท (<1% ของยอดขาย) • มีสินค้า HVA ~ 4% ของยอดขาย เม็ดพลาสติกคุณภาพสูง ที่มา การสัมมนาหัวข้อ “การส่งเสริมงานวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สู่ธุรกิจเชิงพาณิชย์ ... จากหิ้งสู่ห้าง” (ก.ย. 2553)

  21. ชุมชนวิทยาศาสตร์ภายในอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทยชุมชนวิทยาศาสตร์ภายในอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร อาคารที่พักพนักงาน อาคารกลุ่มนวัตกรรม 2 (กำลังก่อสร้าง) Pilot Plants อาคารศูนย์ประชุม แผนงานก่อสร้างในอนาคต Garden of Innovation อาคารกลุ่มนวัตกรรม 1 อาคาร ส่วนงานกลาง 10/3/2014 HR NSTDA 21 21 21

  22. Science Park Development: Present Scenario in Thailand • Northern Science Park (1) • Chiang Mai • Northeastern Science Park (1) • Khonkaen U. • Suranaree University of Technology • MahaSarakham U. • UbonRaJathanee U. • Central region (1) • THAILAND Science Park, NSTDA • Eastern Science Park (1) • Burapha U. • Southern Science Park (1) • Walailak U. • Prince of Songkla U. 5 Science Parks

  23. สวทช. กับการพัฒนากำลังคน บ้านวิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชนไทย ผู้มีใจรักการคิดค้น ค้นคว้า และสร้างสรรค์นวัตกรรม

  24. การพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประเทศ: เพิ่มจำนวนบุคลากรวิจัยและพัฒนาเป็น 15 คน ต่อประชากร 10,000 คน ภายในปี 2559 (ปัจจุบัน 6.7 คน) สวทช.: สร้างและพัฒนาบุคลากรวิจัยที่สร้างความรู้และนวัตกรรมให้กับประเทศ นักวิจัย คุณภาพสูง (ปริญญาเอก > 400 คน) งานวิจัย องค์ความรู้ โครงสร้างพื้นฐาน: อุทยานวิทยาศาสตร์ ที่มีบรรยากาศของการทำวิจัย ปัจจัยสนับสนุน

  25. การพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์ฯ ของ สวทช. ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา พัฒนาบุคลากรวิจัย ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ฯ พัฒนาเด็กและเยาวชน ที่มีความสามารถพิเศษ • enrichment program • กิจกรรมวิชาการนานาชาติ • การประกวดแข่งขันทางวิทยาศาสตร์ • สนับสนุนทุนการศึกษาจนถึง ป.เอก (ในประเทศ) • สนับสนุนทุนการศึกษา เช่น TGIST, NUI-RC • บริหารจัดการหลักสูตร TAIST-Tokyo Tech • ทุน post doc, visiting professor • กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ • การพัฒนา content ด้านวิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ มัธยมศึกษา โรงเรียนฐานวิทยาศาสตร์ อุดมศึกษา นักวิจัยอาชีพ เด็กทั่วไป

  26. การพัฒนาเด็กและเยาวชนที่มีความสามารถพิเศษฯการพัฒนาเด็กและเยาวชนที่มีความสามารถพิเศษฯ • เชื่อมโยงกับ สพฐ. สสวท. โรงเรียนฐาน-วิทยาศาสตร์ • enrichment program • ให้ทุนการศึกษา ทุนวิจัย • ร่วมมือกับเครือข่ายต่างประเทศ แนวทาง • ฐานข้อมูลเด็กเก่ง นักวิจัยพี่เลี้ยง • ตั้ง alumni และสร้างระบบติดตามอย่างใกล้ชิด • กระตุ้นให้เกิดการรวมกลุ่ม และให้โอกาสร่วมทำวิจัยกับนักวิจัยที่มีประสบการณ์สูง • จัดเวทีให้พบปะนักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ชั้นนำ

  27. การทดลองทางวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียน รร. มหิดลวิทยานุสรณ์ และนักเรียนต่างชาติ Korea Japan Israel Korea German

  28. Sirindhorn Science Home Lecture การบรรยายพิเศษโดยนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำ Prof.Jean- Marie Lehn ศ. ดร. ประพนธ์ วิไลรัตน์ outstanding Thai Scientist Sir John Sulston Nobel laureate ศ. ดร. สุทัศน์ ยกส้าน Outstanding Thai Scientist Professor H. Robert Hovitz Nobel laureate

  29. Thailand Graduate Institute of Science and Technology (TGIST) Young Scientist and Technologist Program (YSTP) Ph.D master Junior Science Talent Project (JSTP) • มหาวิทยาลัย undergrad T-AP Senior high-school • โรงเรียน Junior High-school การสนับสนุนการพัฒนากำลังคนของสวทช Post Doc. TAIST-TOKYO UIRC Practice school Enrichment Program โครงการพัฒนา/ส่งเสริมเด็กที่มีความ สามารถพิเศษ/อัจฉริยะทาง ว. & ท. สู่นักวิจัยคุณภาพสูง (หัวรถจักร) ทุนการศึกษา 29

  30. โอกาสของเด็กและเยาวชนผู้มีความสามารถพิเศษโอกาสของเด็กและเยาวชนผู้มีความสามารถพิเศษ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 30

  31. ตัวอย่างผลงานเด่น ศิษย์เก่ามหิดลวิทยานุสรณ์ กับการก้าวสู่เส้นทางอาชีพนักวิทยาศาสตร์ โดยการบ่มเพาะจากโครงการ JSTP 31

  32. นายทวีธรรม ลิมปานุภาพJSTP รุ่นที่ 4 มัธยม รร.มหิดลวิทยานุสรณ์ ป.ตรี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบัน ศึกษาป.เอก Australian National University ประเทศออสเตรเลีย ได้รับรางวัล Special Award ของสมาคมเครื่องจักรคำนวณ (Association of Computing Machinery: ACM) จากการประกวดโครงงานIntel ISEF 2004ณ เมืองพอร์ตแลนด์ มลรัฐโอเรกอน ประเทศสหรัฐอเมริกา

  33. นายวนรักษ์ ชัยมาโย JSTP รุ่นที่ 7 มัธยม รร.มหิดลวิทยานุสรณ์ ป.ตรี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบัน ศึกษาป.เอก ณ University of Edinburgh สก๊อตแลนด์ • ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมโครงการนักศึกษาภาคฤดูร้อนเดซี ปี 2551 เพื่อทำวิจัย ณ สถาบันเดซี ประเทศเยอรมัน • ได้รับรางวัลโครงการรางวัลนวัตกรรมแห่งชาติ ปี 2548 งานวิจัยเรื่อง “ส่งเสียงไปกับแสงสี แรงบันดาลใจของ วนรักษ์ เมื่อได้รับคัดเลือกเข้าโครงการ JSTP ทำให้รู้สึกถึงแรงผลักดันที่ทำให้ผมมุ่งมั่นที่จะศึกษาและทำงานวิจัย เพื่อเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ดีและมีคุณภาพดังที่เคยตั้งใจเอาไว้

  34. นายรณพีร์ ชัยเชาวรัตน์JSTP รุ่นที่ 7 มัธยม รร.มหิดลวิทยานุสรณ์ ปัจจุบัน ศึกษาป.ตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับสองและรางวัลทีมความคิดสร้างสรรค์ ในการแข่งขันออกแบบและสร้างหุ่นยนต์แห่งประเทศไทย และเป็นตัวแทนของประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันระดับนานาชาติในงาน International Design Contest 2010 (IDC 2010) ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน • ชนะเลิศการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ จากโครงการ YSC และเป็นตัวแทนเยาวชนไทยเข้าร่วมประกวด Intel ISEF 2008 ณ เมืองแอตแลนต้า มลรัฐจอร์เจีย ประเทศสหรัฐอเมริกา

  35. เป็นตัวแทนเยาวชนเข้าร่วมโครงการ Thailand Zero-Gravity Experiment ปี 2550 ณ JAXA ประเทศญี่ปุ่น • ศิษย์เก่ามหิดลวิทยานุสรณ์ มีอุดมการณ์ร่วมกันในการทำวิจัย ดังนี้ • นายสิทธิพงษ์ มะโนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย/ University of Tokyo • นายวนรักษ์ ชัยมาโย มหาวิทยาลัยมหิดล / University of Edinburgh • นายธนภัทร์ ดีสุวรรณ มหาวิทยาลัยมหิดล/ Imperial College London

  36. ตัวอย่างศิษย์เก่าที่ได้รับทุนศึกษาต่อในระดับสูงขึ้นในต่างประเทศตัวอย่างศิษย์เก่าที่ได้รับทุนศึกษาต่อในระดับสูงขึ้นในต่างประเทศ 1. นายสิทธิพงษ์ มะโนธรรม รุ่นที่ 5 ปริญญาโท University of Tokyo ประเทศญี่ปุ่น ทุนรัฐบาลญี่ปุ่น (Monbusho) 2. นายเดชชาติ สามารถ รุ่นที่ 5 ปริญญาเอก Texas A&M University ประเทศสหรัฐอเมริกา ทุน Texas A&M University 3. นายธนภัทร์ ดีสุวรรณ รุ่นที่ 6 ปริญญาเอก Imperial College London, ประเทศอังกฤษ ทุนกระทรวงวิทย์ฯ 4. นายเชาว์ กุศลเลิศจริยา รุ่นที่ 8 ปริญญาเอก University of California Berkeley ประเทศสหรัฐอเมริกา ทุนกระทรวงวิทย์ฯ 5. นายภาณุ อึ้งสกุล รุ่นที่ 10 ปริญญาตรี Korea Advance Institute of Science and Technology (KAIST) ประเทศเกาหลีใต้ ทุน KAIST

  37. นักวิจัย/นักวิทยาศาสตร์ (เค้า)ทำงานกันอย่างไร ??

  38. การทำงานในห้องปฎิบัติการการทำงานในห้องปฎิบัติการ

  39. สวทช. เปิดรับผู้มีความสามารถพิเศษ ด้าน วท. ร่วมกลุ่มทีมวิจัยกับนักวิจัย สวทช. อ้างอิงจาก....ระเบียบสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ว่าด้วยหลักเกณฑ์ การเชื้อเชิญ สรรหา คัดเลือก และบรรจุแต่งตั้งบุคคลเข้าเป็นพนักงาน หรือพนักงานโครงการ พ.ศ. 2552 “ข้อ 11 ให้บรรจุแต่งตั้งนักเรียนทุนรัฐบาล หรือผู้แทนของประเทศไทยที่ได้รับรางวัลจากการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับนานาชาติ หรือบุคคลที่ผ่านกระบวนการเชื้อเชิญ สรรหา หรือคัดเลือกเข้าเป็นพนักงาน หรือพนักงานโครงการ โดยจะต้องมีการทดลองปฏิบัติงาน ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะอนุกรรมการกำหนดด้วย”

More Related