1 / 25

นิติปรัชญา : สมัยกลาง

นิติปรัชญา : สมัยกลาง. โดย อ.อิทธิพล ปรีติประสงค์ คณะนิติศาสตร์ ม.อีสเทิร์นเอเชีย วันเสาร์ที่ ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๗. สภาพการณ์ทั่วไป. อาณาจักโรมันล่มสลาย. ศตวรรษที่ 6-15 . Pax Romana ล่มสลาย. Feudal System. ไม่มีการรวมศูนย์กลางการปกครอง. การปกครอง. การกฎหมาย. อาณาจักร. ศาสนจักร.

renardo
Download Presentation

นิติปรัชญา : สมัยกลาง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นิติปรัชญา : สมัยกลาง โดย อ.อิทธิพล ปรีติประสงค์ คณะนิติศาสตร์ ม.อีสเทิร์นเอเชีย วันเสาร์ที่ ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๗

  2. สภาพการณ์ทั่วไป อาณาจักโรมันล่มสลาย ศตวรรษที่ 6-15 Pax Romana ล่มสลาย Feudal System ไม่มีการรวมศูนย์กลางการปกครอง

  3. การปกครอง การกฎหมาย อาณาจักร ศาสนจักร ศาสนา ศีลธรรม ศีลธรรม

  4. การปกครอง การกฎหมาย อาณาจักร ศาสนจักร ศาสนา ศีลธรรม เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น

  5. ศาสนจักร อิงระบบการปกครองมาจากจักรวรรดิโรมัน ถ่ายทอดความคิดด้านระบบ “โรมันคาทอลิก” เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันภายใต้ศาสนจักร การแบ่งการปกครองเป็นศาสนมณฑล โบสถ์ ศูนย์กลางการปกครอง ศาสนจักรเป็นผู้ทรงไว้ซึ่งอารยธรรมที่ตกทอดมาแต่สมัยโรมัน ทั้งในแง่การปกครอง ศาสนา วัฒนธรรมและศิลปวิทยาการ ข้าราชการ ครู เผยแผ่ศาสนาก็คือ พระสงฆ์

  6. ศาสนาคริสต์ ความคิดและความเชื่อพื้นฐาน อิทธิพลทางความคิด

  7. ความคิดและความเชื่อพื้นฐานความคิดและความเชื่อพื้นฐาน พระเจ้าและมนุษย์ ปัญหาความชั่ว (Problem of Evil) Original Sin หากต้องการความรอดพ้น ต้องมีศรัทธาต่อพระผู้เป็นเจ้า

  8. อิทธิพลทางความคิด ๑.ทัศนะต่อกฎหมาย เป็นผลมาจากความเชื่อต่อพระบัญญัติของพระผู้เป็นเจ้า ๒.การนับถือ Authority การนับถือบางสิ่งบางอย่างเป็นสรณะ ศาสนา  คัมภีร์ ปรัชญา อาริสโตเติ้ล กฎหมายCorpus Juris Civilis Ratio Scripta คัมภีร์แห่งสติปัญญา ๓.หลักเอกภาพ และ กฎหมายสูงสุด Principle of Unity Principle of the Supremacy of Law

  9. Principle of Unity พระเจ้าเป็นศูนย์กลางของจักวาล ระเบียบเป็นไปตามโองการอันศักดิ์สิทธิ์ อาณาจักรและศาสนจักรจึงไม่แยกออกจากกัน ปลูกฝังศรัทธาและขจัดความขัดแย้ง ผู้แทนหรือผู้วาต่างของพระผู้เป็นเจ้า ฝ่ายอาณาจักรขึ้นตรงต่อฝ่ายศาสนจักร มีการรับรองอำนาจของฝ่ายอาณาจักร ยุทธการคว่ำบาตร (Excommunication)

  10. Principle of the Supremacy of Law กฎหมายแท้จริงก็คือกฎหมายจากพระเจ้า เป็นอิสระอยู่นอกเหนืออำเภอใจของมนุษย์ เป็นส่วนหนึ่งของหลักเอกภาพ กฎหมายจากพระเจ้าเป็นกฎหมายสูงสุด

  11. นักบุญออกัสติน แนวคิดเกี่ยวกับเจตจำนงของพระเจ้า แนวคิดเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ แนวคิดเกี่ยวกับกฎหมายและการปกครอง

  12. แนวคิดเกี่ยวกับเจตจำนงแนวคิดเกี่ยวกับเจตจำนง เจตจำนงแห่งพระผู้เป็นเจ้า (Will) เหตุผลสากล (Logos,Ratio) เจตจำนงอันศักดิ์สิทธิ์ของพระผู้เป็นเจ้า เป็นการผสมผสานแนวคิดของ คริสเตียนกับปรัชญาของกรีก

  13. แนวคิดเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์แนวคิดเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ The Fall การตกต่ำของมนุษย์ การสูญเสียธรรมชาติที่ดีของมนุษย์(Natura Corrupta) การรับพระหรรษทานจากพระเจ้า(The Grace) ต้องมีศรัทธา(The Faith) Authority หรือ Dogma

  14. แนวคิดเกี่ยวกับกฎหมายและการปกครองแนวคิดเกี่ยวกับกฎหมายและการปกครอง Original Sin จำเป็นต้องมีกฎเกณฑ์ในการควบคุมความประพฤติของมนุษย์ รัฐจึงเกิดขึ้นเพื่อควบคุมพฤติกรรมฝ่ายชั่วของมนุษย์ อาณาจักรจึงตกอยู่ภายใต้อำนาจของศาสนจักร ศูนย์กลางการปกครอบก็คือ โบสถ์

  15. ปัญหาเชิงนิติปรัชญาของเซนต์ออกัสตินปัญหาเชิงนิติปรัชญาของเซนต์ออกัสติน ความยุติธรรม การไม่ทำร้ายผู้อื่น การให้ตามส่วนที่ควรได้รับ รวมถึงการให้แก่พระเจ้าด้วย ศรัทธาและเชื่อมั่น

  16. กฎหมาย กฎหมายนิรันดร (Lex Aeterna) เจตจำนงอันศักดิ์สิทธิ์ของพระเจ้า ดำรงอยู่ในพระผู้สร้าง เจตจำนง สติปัญญา กฎหมายธรรมชาติ (Lex Naturalis) กฎเกณฑ์ที่ดำรงอยู่ในสรรพสิ่งที่ถูกสร้าง กฎหมายเฉพาะกาล (Lex Temporalis) กฎหมายบ้านเมือง แนวคิดว่ากฎหมายบ้านเมืองไปขัดต่อกฎหมายนิรันดรไม่ได้

  17. นักบุญโทมัส อะควีนัส(สมัยกลางตอนปลาย) การกลับมาของแนวคิดของอาริสโตเติ้ล ประสานแนวคิดของอาริสโตเติ้ลกับหลักปรัชญาเข้าด้วยกัน หลักเหตุผล(พระเจ้าและมนุษย์ต่างมีเหตุผลที่ดี) สติปัญญา ความมุ่งหมาย

  18. ความตกต่ำ นักบุญโทมัส ออกัสตินความตกต่ำทำให้มนุษย์นั้นสูญเสียธรรมชาติที่ดีของมนุษย์อย่าง “สิ้นเชิง” มนุษย์จึงไม่สามารถเอาตัวรอดได้ นอกจากจะต้องมีศรัทธา นักบุญโทมัส อะควีนัสความตกต่ำทำให้มนุษย์นั้นทำให้ธรรมชาติที่ดีของมนุษย์ “บกพร่อง” มนุษย์ยังมีธรรมชาติที่ในเรื่องของเหตุผลและสติปัญญาอยู่ Natura Corrupta Natura Vulnerata

  19. กฎหมาย ๑.กฎหมายนิรันดร (Eternal Law) ๒. กฎหมายธรรมชาติ (Natural Law) ๓.กฎหมายศักดิ์สิทธิ์ (Devine Law) ๓.กฎหมายมนุษย์ (Human Law)

  20. กฎหมาย ๑.กฎหมายนิรันดร (Eternal Law) แผนการปกครองของพระผู้เป็นใหญ่ เหตุผล สติปัญญา

  21. กฎหมาย ๒. กฎหมายธรรมชาติ (Natural Law) กฎหมายนิรันดรที่มนุษย์รับรู้ได้ด้วยตนเอง สัญชาตญาณการดำรงชีวิต กฎเกณฑ์รากฐานความประพฤติ สัญชาตญาณทางเพศ สัญชาตญาณทางสังคม ๒.๑ กฎหมายธรรมชาติลำดับต้น(Primary Natural Law) ๒.๑ กฎหมายธรรมชาติลำดับรอง(Secondary Natural Law)

  22. กฎหมาย ๓.กฎหมายศักดิ์สิทธิ์ (Divine Law) กฎหมายที่มนุษย์เข้าไม่ถึง พระเจ้าเปิดเผยให้รู้ ความเชื่อทางศาสนา หรือทางศีลธรรม ที่ชี้ขาดหรืออธิบายด้วยเหตุผลไม่ได้

  23. กฎหมาย ๔.กฎหมายมนุษย์ (Human Law) กฎหมายคือบัญชาของเหตุผลเพื่อความดีงามร่วมกัน ที่บัญญัติขึ้นโดยมีหน้าที่ในการดูแลรักษาประชาคม และได้ประกาศใช้แล้ว Authority เพื่อความดีงามร่วมกัน ไม่ใช่ผลประโยชน์ร่วมกัน ต้องมีการประกาศใช้ มีเหตุผลทางเทคนิค Jus civile & Jus Gentium

  24. ถ้ากฎหมายมนุษย์ขัดต่อกฎหมายธรรมชาติถ้ากฎหมายมนุษย์ขัดต่อกฎหมายธรรมชาติ กฎหมายมนุษย์นั้นไม่ใช่กฎหมาย เชื่อในความเป็นเอกภาพของจักรวาล Cosmos ,World Reason, God’s Voice

  25. สรุปแนวคิดของโทมัส อะควีนัส กลับสู่ยุคของเหตุผล แต่ยังยอมรับข้อจำกัดของมนุษย์ เจตจำนงของพระเจ้า Higher Law ประสานแนวคิดเรื่องของศาสนจักรและอาณาจักร รวมทั้งแนวคิดของกรีกโรมันเข้าด้วยกัน

More Related