280 likes | 462 Views
à¸à¸²à¸£à¸ªà¸£à¹‰à¸²à¸‡à¸„วามรู้ความเข้าใจà¹à¸¥à¸°à¸•ระหนัà¸à¸–ึง à¸à¸²à¸£à¹€à¸›à¹‡à¸™à¸›à¸£à¸°à¸Šà¸²à¸„มà¸à¸²à¹€à¸‹à¸µà¸¢à¸™. สมาคมà¸à¸²à¹€à¸‹à¸µà¸¢à¸™-ประเทศไทย. ASEAN Factsheet. สมาชิà¸à¸œà¸¹à¹‰à¸à¹ˆà¸à¸•ั้งปี 1967 ไทย มาเลเซีย à¸à¸´à¸™à¹‚ดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์. สมาชิà¸à¹€à¸žà¸´à¹ˆà¸¡à¹€à¸•ิม + บรูไน ดารุสซาลาม ปี 1984 + เวียดนาม ปี 1995 + ลาว ปี 1997 + พม่า ปี 1997
E N D
การสร้างความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงการเป็นประชาคมอาเซียนการสร้างความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงการเป็นประชาคมอาเซียน สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย
ASEAN Factsheet • สมาชิกผู้ก่อตั้งปี 1967 • ไทย • มาเลเซีย • อินโดนีเซีย • ฟิลิปปินส์ • สิงคโปร์ สมาชิกเพิ่มเติม + บรูไน ดารุสซาลาม ปี 1984 + เวียดนาม ปี 1995 + ลาว ปี 1997 + พม่า ปี 1997 + กัมพูชา ปี 1999 ประชากร – 620 ล้านคน (ปี 2555) อันดับ 3 ทั่วโลก พื้นที่ - 4.5 ล้าน ตาราง กม. ศาสนาหลัก - อิสลาม พุทธ คริสต์ ฮินดู GDP รวม - 1.5 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ การค้ารวม - 1.8 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ
จุดเริ่มต้นของอาเซียนจุดเริ่มต้นของอาเซียน เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 -รมว.กต. อินโดนีเซีย (นายอาดัม มาลิก) -มาเลเซีย (ตุน อับดุล ราซัก บิน ฮุสเซน) -ฟิลิปปินส์ (นายนาซิโซ รามอส) -สิงคโปร์ (นายเอส ราชารัตนัม) -ไทย (พันเอก ถนัด คอมันตร์) ลงนาม ใน “ปฏิญญากรุงเทพฯ” (Bangkok Declaration) สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย
หลักการพื้นฐานของอาเซียนหลักการพื้นฐานของอาเซียน • การตัดสินใจโดยใช้ฉันทามติ (Consensus) • การไม่แทรกแซงในกิจการภายในของกันและกัน (Non-interference) • การร่วมมือเพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชน (Prosperity) สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย
วัตถุประสงค์ของอาเซียนวัตถุประสงค์ของอาเซียน • เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก • เพื่อสันติภาพ เสถียรภาพและความมั่นคง • เพื่อเสริมสร้างเศรษฐกิจและความอยู่ดีกินดีของประชาชน • พัฒนาสังคมและวัฒนธรรม • ส่งเสริมความร่วมมือกับภายนอก และองค์การระหว่างประเทศต่างๆ สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย
สามเสาหลักของประชาคมอาเซียนสามเสาหลักของประชาคมอาเซียน
บทบาทของไทยต่อพัฒนาการของอาเซียนบทบาทของไทยต่อพัฒนาการของอาเซียน • การก่อตั้งอาเซียน+ปฏิญญากรุงเทพฯ ปี 2510 • การส่งเสริมความมั่นคงของภูมิภาคในช่วงสงครามเย็น (ARF) • FTA การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน • การลดช่องว่างด้านการพัฒนาในบรรดาประเทศสมาชิกอาเซียน(IAI) • กฎบัตรอาเซียนปี 2550-2551 (3 เสา) • ความเชื่อมโยงในภูมิภาคอาเซียน ASEAN Connectivity • การร่วมมือสาขาต่างๆ อาทิ การเงิน/ความมั่นคงทางอาหาร/การศึกษา/ภัยพิบัติ/อาชญากรรมข้ามชาติ เป็นต้น
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community: APSC) -ส่งเสริมการสร้างสันติภาพและความมั่นคง+กลไกสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจของอาเซียน ป้องกันความขัดแย้งโดยใช้การทูตเชิงป้องกันและแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง -สร้างกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกันด้านประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน -สร้างความรับผิดชอบร่วมกันในการสร้างความมั่นคงที่ครอบคลุมรอบด้าน เช่น ปัญหายาเสพติด / โรคระบาด / ภัยพิบัติธรรมชาติ / อาชญากรรมข้ามชาติ/การค้ามนุษย์/การฟอกเงิน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEANEconomic Community-AEC) จัดตั้ง (CMIM) การสำรองแลกเปลี่ยนเงินต่างประเทศเพื่อเป็นกลไกความร่วมมือทางการเงิน 1.เป็นตลาดและฐานผลิตร่วม : เคลื่อนย้ายสินค้า บริการ ทุน แรงงานและเงินทุนอย่างเสรี นรม.อานันท์ ปันยารชุน เป็นผู้ผลักดันการจัดตั้ง AFTA ในปี พ.ศ. 2535 2.สร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน เช่น นโยบายภาษี/พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ส่งเสริมการลดช่องว่างด้านพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน (IAI) 3.พัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค-ลดช่องว่างสมาชิกเก่า/ใหม่+สนับสนุน SMEs 4.บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก-ปรับนโยบาย ศก.+สร้างเครือข่ายการผลิตและจำหน่าย Ex.หาฐานการผลิตใหม่ การคบค้ากับตลาดโลก+จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค
อาเซียนจะได้รับการอำนวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพมากขึ้นอาเซียนจะได้รับการอำนวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพมากขึ้น • การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ 7 สาขา วิศวกร แพทย์พยาบาล สถาปนิก นักสำรวจ นักบัญชี ทันตแพทย์ และ • อีก 1 สาขาบริการคือ ท่องเที่ยว MRAs : เป็นข้อตกลงยอมรับร่วมของนักวิชาชีพในอาเซียนสามารถจดทะเบียนหรือขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นๆ ได้ แต่ยังคงต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในประเทศนั้นๆ MRAs ไม่ได้เป็นการเปิดตลาด แต่เป็นเพียงการอำนวยความสะดวกในขั้นตอนการขอใบอนุญาตการทำงาน โดยลดขั้นตอนการตรวจสอบ/รับรองวุฒิการศึกษาหรือหาความรู้ทางวิชาชีพเท่านั้น Note: 12 สาขา เร่งรัดการรวมตัว ท่องเที่ยว สินค้าเกษตร สินค้าประมง ยานยนต์ ผลิตภัณฑ์ไม้ ยาง สิ่งทอ การบิน อิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ ลอจิสติกส์
การดำเนินการตามแนวทางกรอบ ASEAN Economic Community-AEC ของไทยโดยมียุทธศาสตร์ 8 ประการ ดังนี้ 6.สร้างความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของประชาคมอาเซียนให้กับในทุกๆภาคส่วน 1.เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้า บริการและการลงทุน+ส่งเสริมการลงทุนในต่างประเทศ ปรับปรุงมาตรฐานการผลิต เพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน 2.การพัฒนาคุณภาพชีวิต+ให้ความคุ้มครองทางสังคม+ส่งเสริมให้ประชาชนมีสภาพแวดล้อมควาเป็นอยู่ที่มั่นคงปลอดภัย 7.เสริมสร้างความมั่นคง เน้นความร่วมมือด้านชายแดนทางบก+ทะเล และสร้างฐานข้อมูล 3.พัฒนาโครงสร้างขั้นพื้นฐาน+โลจิสติกส์ เพื่อความเชื่อมโยงและเพื่อรองรับกฎระเบียบรวมไปถึงความสะดวกในการค้าการลงทุน 8.เพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงสมาชิกอาเซียนในด้านอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การลงทุน เช่น เมืองหลวง เมืองการเกษตร เมืองการท่องเที่ยว เมืองชายแดน+Green City เพื่อเป็นยุทธศาสตร์ในการสร้าง Branding 4.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ให้มีทักษะผีมือและภาษา โดยภาครัฐได้มอบหมายให้ สำนักงาน กพ.เตรียมจัดทำแผนการพัฒนาทุนมนุษย์ดังกล่าว 5.การพัฒนากฎหมายและระเบียบเพื่อความสะดวกในการลงทุน+เพื่อปกป้องผลประโยชน์ของประเทศและนักลงทุน
การเปิดเสรีด้านการบริการการเปิดเสรีด้านการบริการ มีการแบ่งการให้บริการเป็น 4 รูปแบบ ตามรูปแบบการค้าบริการ (Mode) กล่าว คือ Mode 3 :Commercial Presence การจัดตั้งหรือลงทุน ยังต่างประเทศ Mode 1 : Cross Border Supply การบริการข้ามพรมแดน Mode 2 : Consumption Abroad การบริโภค+การบริการในต่างประเทศ เช่น รักษาพยาบาล/ การศึกษา เป็นต้น Mode 4 :Presence Of Natural Persons การเคลื่อนย้าย/การให้บริการของผู้ประกอบวิชาชีพในกลุ่ม MRA สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย
ASEAN-Connectivity • ปัจจัยสำคัญสู่การรวมตัวทางเศรษฐกิจ • TH. Mainland of SEA. • Master plan on ASEAN Connectivity มีขึ้นเพื่อสำหรับเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐานของแต่ละประเทศ + ด้านกฎระเบียบ ข้อบังคับ ด้านการค้าการลงทุน การขนส่ง การข้ามเขตแดน + ด้านประชากร การแลกเปลี่ยนการศึกษาและวัฒนธรรมร่วมกัน
ข้อมูลจาก : กระทรวงการต่างประเทศ
ข้อมูลจาก : กระทรวงการต่างประเทศ
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) • มุ่งเน้นการให้อาเซียนเป็นสังคมที่มีเอกภาพ มีความเอื้ออาทรต่อกัน มีความเป็นอยู่ที่ดี พัฒนาในทุกด้าน และมีความมั่นคงทางสังคม
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) 4.ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม+จัดการทรัพยากรธรรมชาติ+จัดการปห.ด้านสิ่งแวดล้อม 1.การพัฒนามนุษย์ : บูรณาการการศึกษา+ส่งเสริมการจ้างงานที่เหมาะสม+ส่งเสริมด้าน ICT 2.การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม: ขจัด ค.ยากจน?+ส่งเสริม ค.มั่นคงและปลอดภัยด้านอาหาร+ควบคุมโรคติดต่อ 5.การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน-ค.รู้สึกเป็นเจ้าของวัฒนธรรมร่วมกัน+ความรู้สึกเป็นประชาคม 3.ส่งเสริมความยุติธรรมและลัทธิทางสังคม: คุ้มครองผู้ด้อยโอกาส+แรงงานย้ายถิ่น ส่งเสริม CSR ขององค์กรธุรกิจ 6.เน้นการลดช่องว่าง ของการพัฒนาระหว่างปท.กลุ่มสมาชิกเก่าและกลุ่ม CLMV
ประเด็นท้าทายของอาเซียนประเด็นท้าทายของอาเซียน ความแตกต่างด้านเชื้อชาติ ศาสนา ระดับการพัฒนา+การก่อการร้าย+อาชญากรรมข้ามชาติ ความผันผวนของระบบเศรษฐกิจโลก วิกฤติเศรษฐกิจและการจัดทำ FTA การขาดแคลนทรัพยากร แรงงาน ตลาด เงินทุน ทุนมนุษย์+การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ การแข่งขันของกลุ่มประเทศมหาอำนาจ จีน สหรัฐ รัสเซีย ญี่ปุ่น อินเดีย+โลกไร้พรมแดน ความแตกต่างของระบบการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม+ค.มั่นคงทางอาหารและพลังงาน ผลประโยชน์แห่งชาติ VS ผลประโยชน์ภูมิภาค ท้องถิ่น+การคอรัปชั่น
ผลกระทบของประชาคมอาเซียนผลกระทบของประชาคมอาเซียน โลกเทคโนโลยีการสื่อสารไร้พรมแดน ICT +Social Media บทบาทของประเทศใหม่ สังคมเปิด สินค้า เงินทุน แรงงาน นอกระบบอาจเพิ่มขึ้น พลังงานและวัตถุดิบที่จำกัด สังคมผู้สูงอายุ โรคระบาดที่อาจแพร่กระจายได้ง่ายขึ้น กฎหมายกฎระเบียบใหม่
สมาคมอาเซียน-ประเทศไทยสมาคมอาเซียน-ประเทศไทย โทร. 02-203-5000 ต่อ 44202-4 aseanthailand@hotmail.com www.aseanthailand.org