230 likes | 374 Views
การออกแบบระบบฐานข้อมูล. บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต. Systems Development Life Cycle. วัฏจักรการพัฒนาระบบ (SDLC) System Development Life Cycle. การวางแผน (planning) การวิเคราะห์ระบบ (analysis) การออกแบบรายละเอียดของระบบ (detailed systems design) การดำเนินการ (implementation)
E N D
การออกแบบระบบฐานข้อมูลการออกแบบระบบฐานข้อมูล บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต
วัฏจักรการพัฒนาระบบ (SDLC)System Development Life Cycle • การวางแผน (planning) • การวิเคราะห์ระบบ (analysis) • การออกแบบรายละเอียดของระบบ (detailed systems design) • การดำเนินการ (implementation) • Coding & Testing & Installation & fine-tuning • การบำรุงรักษาระบบ (Maintenance) • Evaluate, Maintenance and Enhance
Database Lifecycle (DBLC) Figure 6.3
วัฏจักรของฐานข้อมูล (DBLC) • การศึกษาเบื้องต้น • การออกแบบฐานข้อมูล • การติดตั้งระบบ • การทดสอบและประเมินผล • การดำเนินการ • การบำรุงรักษาและปรับปรุง
ขั้นที่ 1 ศึกษาเบื้องต้น
ขั้นที่ 2 การออกแบบฐานข้อมูล Database Design
ขั้นตอนการออกแบบฐานข้อมูลขั้นตอนการออกแบบฐานข้อมูล • การออกแบบเชิงแนวคิด (Conceptual Design) • การเลือกโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS Software Selection) • การออกแบบทางตรรกะ (Logical Design) • การออกแบบทางกายภาพ (Physical Design)
การออกแบบเชิงแนวคิด • เป็นการนำข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ระบบขององค์กรมาทำการออกแบบเพื่อให้ได้เค้าร่างของฐานข้อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual Schema) ที่ประกอบด้วย • เอนติตี้ • ความสัมพันธ์ของข้อมูล • แอททริบิวต์
ขั้นตอนในการออกแบบเชิงแนวคิดขั้นตอนในการออกแบบเชิงแนวคิด • การรวบรวมความต้องการของผู้ใช้งานและวิเคราะห์ข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ • การออกแบบด้วยแบบจำลองอี-อาร์ (E-R Model) • กำหนดเอนติตี้หลัก • กำหนดควาสัมพันธ์ของเอนติตี้ • ระบุแอททริบิวต์ที่เป็นรายละเอียดข้อมูลของเอนติตี้หรือความสัมพันธ์ • กำหนดโดเมนของแอททริบิวต์ • กำหนดแอททริบิวต์ที่มีคุณสมบัติเป็นคีย์คู่แข่งและคีย์หลัก • ทบทวนการออกแบบข้อมูล
E-R Modeling is Iterative Figure 6.8
Concept Design: Tools and Sources Figure 6.9
การเลือกโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูลการเลือกโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
การเลือก DBMS ต้องคำนึงถึง • ค่าใช้จ่าย • ราคาและค่าซ่อมบำรุง • การใช้งาน การติดตั้ง การฝึกอบรม • ลิขสิทธิ์ • ค่าใช้จ่ายในการเปลี่ยนระบบใหม่ • คุณลักษณะและเครื่องมือของ DBMS • ความสามารถในการใช้งานข้าม Platform และภาษา • ความต้องการด้านฮาร์ดแวร์ของ DBMS
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงตรรกะการออกแบบฐานข้อมูลเชิงตรรกะ (Logical Database Design)
การออกแบบฐานข้อมูลในระดับตรรกะการออกแบบฐานข้อมูลในระดับตรรกะ • เป็นการแปลงการออกแบบระดับแนวคิด (Conceptual Design) ให้เป็นแบบจำลองของฐานข้อมูลในระดับภายใน (Internal Model) ซึ่งในขั้นนี้จะขึ้นกับระบบจัดการฐานข้อมูลที่เราเลือก เช่น DB2, PostgreSql, Oracle, Mysql เป็นต้น • ในระดับนี้เป็นการเสริมแนวคิดเรื่องการทำตารางให้เป็นบรรทัดฐาน (Normalization) และ Denormalization เพื่อปรับให้ระบบมีประสิทธิภาพมากขึ้น
การออกแบบระดับตรรกะ (ต่อ) • ในการออกแบบขั้นตอนนี้ จึงประกอบด้วยการออกแบบเกี่ยวกับ • Tables • Indexes • Views • Transactions • Access authorities • Others
การออกแบบฐานข้อมูลระดับกายภาพการออกแบบฐานข้อมูลระดับกายภาพ Physical Design
การออกแบบฐานข้อมูลในระดับกายภาพการออกแบบฐานข้อมูลในระดับกายภาพ • เป็นการพิจารณาถึงโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูล (Storage) และ • วิธีการเข้าถึงข้อมูล (Access Method) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึง • การกำหนดระบบรักษาความปลอดภัยในการเข้าถึงข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลในระดับกายภาพการออกแบบฐานข้อมูลในระดับกายภาพ • ผู้ออกแบบควรพิจารณาใน • Transaction Analysis • File Organization • Access Method • Estimate Diskspace • Create Relation and Integrity Constraint • Database Security System