1 / 36

การจัดทำรายงานการรับและการใช้จ่ายเงินรายได้ ที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน

การจัดทำรายงานการรับและการใช้จ่ายเงินรายได้ ที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน. วันที่ 28 มีนาคม 2557. ที่มาของข้อมูล. สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ. The Off-Budgetary Management Office. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170.

reidar
Download Presentation

การจัดทำรายงานการรับและการใช้จ่ายเงินรายได้ ที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำรายงานการรับและการใช้จ่ายเงินรายได้ที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดินการจัดทำรายงานการรับและการใช้จ่ายเงินรายได้ที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน วันที่ 28 มีนาคม2557 ที่มาของข้อมูล • สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ The Off-Budgetary Management Office

  2. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 การจัดทำรายงานการรับและการใช้จ่ายเงินรายได้ที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฯ พุทธศักราช 2550 มาตรา 170 • ที่มา • หน่วยงานของรัฐที่ต้องจัดทำรายงาน • เงินรายได้ที่ไม่ต้องนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน • แนวทางปฏิบัติ/องค์ประกอบของการจัดทำรายงานฯ • มติคณะรัฐมนตรี (วันที่ 15 มกราคม 2551 วันที่ 28 ตุลาคม 2551) • การจัดส่งรายงานฯ • - มติคณะรัฐมนตรี

  3. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 ที่มา : • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 170 • กำหนด “ให้เงินรายได้ของหน่วยงานของรัฐใดที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน ให้หน่วยงานของรัฐนั้นทำรายงานการรับและการใช้จ่ายเงินดังกล่าวเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเมื่อสิ้นปีงบประมาณทุกปี • และให้คณะรัฐมนตรีทำรายงานเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาต่อไป โดยการใช้จ่ายเงินรายได้ดังกล่าวต้องอยู่ภายใต้กรอบวินัยการเงินการคลังตามหมวดนี้ด้วย”

  4. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 เงินรายได้ที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน • คือ เงินรายได้ของหน่วยงานของรัฐ ซึ่งได้รับอนุมัติ/อนุญาต ตามอำนาจรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง /กฎหมาย บัญญัติให้เก็บไว้ใช้จ่ายได้โดยไม่ต้องนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน

  5. ที่มาของเงินรายได้ที่ไม่ต้องนำส่งคลังที่มาของเงินรายได้ที่ไม่ต้องนำส่งคลัง • พรบ. เงินคงคลัง พ.ศ. 2491 และที่แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 3, 4 ได้แก่ เงินทุนหมุนเวียน เงินฝาก • พรบ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 24 ได้แก่ เงินบริจาค เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ เงินบูรณะทรัพย์สิน เงินรายรับสถานพยาบาล/สถานศึกษา เงินที่ได้รับในลักษณะเงินผลพลอยได้

  6. พรบ. เงินคงคลัง พ.ศ. 2491 เงินนอกงบประมาณ ประกอบด้วย • เงินยืมทดรองราชการ • เงินฝาก • เงินทุนหรือเงินทุนหมุนเวียน • เงินขายบิล

  7. ไม่อยู่ในประเภทเงินฝากในการรายงานไม่อยู่ในประเภทเงินฝากในการรายงาน พรบ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 • เงินบูรณะทรัพย์สิน • เงินบริจาค • เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ • เงินบำรุงการศึกษา • เงินบำรุงของหน่วยงานบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข • เงินทดรองราชการ • เงินทุนสำรองจ่าย

  8. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 หน่วยงานของรัฐที่ต้องจัดส่งรายงานฯ • ส่วนราชการ • หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ • หน่วยงานของรัฐอื่นที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล • องค์การมหาชน • รัฐวิสาหกิจ

  9. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 เงินรายได้ที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน • ลักษณะของเงินรายได้ที่ไม่ต้องนำส่งคลัง - เงินฝาก - เงินทุนหมุนเวียน - เงินของหน่วยงานของรัฐอื่นที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล - เงินขององค์การมหาชน - เงินของรัฐวิสาหกิจ -

  10. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 ประเภทเงินฝาก 10. เงินกู้ 11. เงินท้องถิ่น 12. เงินผลพลอยได้ 13. เงินเพื่อประโยชน์การศึกษา 14. เงินสินบนรางวัล 15. เงินฝากต่างๆ 16. เงินรับฝากเพื่อรอจัดสรร/ถอนคืน 17. เงินนอกงบประมาณตามวัตถุประสงค์อื่น 1. เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ 2. เงินบริจาค/เงินสนับสนุน 3. เงินรายรับสถานศึกษา 4. เงินรายรับสถานพยาบาล 5. เงินบูรณะทรัพย์สิน 6. เงินค่าใช้จ่ายเก็บภาษีท้องถิ่น 7. เงินรายได้จากการดำเนินงาน 8. เงินประกันสัญญา/เงินมัดจำ 9. เงินดอกเบี้ยกลางศาล/ค่าธรรมเนียมศาล/ค่าธรรมเนียมในการบังคับคดี

  11. ลักษณะของเงินนอกงบประมาณประเภทเงินฝากลักษณะของเงินนอกงบประมาณประเภทเงินฝาก

  12. เงินฝาก เงินที่กระทรวงการคลังรับฝากไว้ และจ่ายคืนตามคำขอของผู้ฝาก ตามข้อบังคับและระเบียบของกระทรวงการคลัง เงินที่ส่วนราชการจะนำฝากต้องไม่เข้าลักษณะดังต่อไปนี้ • เงินงบประมาณ • เงินที่มีบัญชีเงินทุนหมุนเวียน • เงินรายได้แผ่นดิน *** เว้นแต่จะได้รับความตกลงจากกระทรวงการคลัง **** ...กำหนดให้ส่วนราชการนำเงินนอกงบประมาณที่ฝากธนาคารพาณิชย์กลับเข้ามาฝากคลัง ตามหนังสือกระทรวงการคลังที่ กค 0526.9/ว 107

  13. เงินบูรณะทรัพย์สิน • เงินที่ได้รับในลักษณะชดใช้ความเสียหาย หรือสิ้นเปลืองแห่งทรัพย์สิน และจำเป็นต้องจ่ายเพื่อบูรณะทรัพย์สินหรือจัดให้ได้ทรัพย์สินคืนมา • โดยให้ถือปฏิบัติตามหนังสือกระทรวงการคลัง ดังนี้.- • - หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0530.1/ว 38 • ลงวันที่ 3 เมษายน 2545 - หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0530.1/ว 38 • ลงวันที่ 3 เมษายน 2545

  14. เงินบูรณะทรัพย์สิน - หนังสือกรมบัญชีกลาง กค 0518.1 /ว 85 ลงวันที่ 7 พฤษภาคม 2545 - หนังสือกรมบัญชีกลาง กค 0409.3 /ว 503 ลงวันที่ 19 ธันวาคม 2548 - หนังสือกรมบัญชีกลาง กค 0427 /ว 326 ลงวันที่ 26 กันยายน 2554

  15. เงินบูรณะทรัพย์สิน - หนังสือกรมบัญชีกลาง กค 0518.1 /ว 85 ลงวันที่ 7 พฤษภาคม 2545 - หนังสือกรมบัญชีกลาง กค 0409.3 /ว 503 ลงวันที่ 19 ธันวาคม 2548 - หนังสือกรมบัญชีกลาง กค 0427 /ว 326 ลงวันที่ 26 กันยายน 2554

  16. เงินบริจาค • เงินซึ่งมีผู้มอบให้ส่วนราชการโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ส่วนราชการใช้จ่ายในกิจการของส่วนราชการนั้น หรือเป็นเงินที่เกิดจากทรัพย์สินซึ่งมีผู้มอบให้เพื่อหาดอกผลใช้จ่ายในกิจการของส่วนราชการนั้น

  17. เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ • 1.ได้รับเงินช่วยเหลือโดยผ่านกรมวิเทศสหการ ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบของกรมวิเทศสหการ(ไม่ต้องรายงานตามแบบ 102) • 2.ได้รับเงินช่วยเหลือโดยตรง ให้ถือปฏิบัติตาม • ระเบียบของทางราชการ โดยอนุโลม

  18. เงินบำรุงการศึกษา • เงินทั้งปวงที่สถานศึกษาได้รับไว้เป็นกรรมสิทธิ์นอกเหนือจากเงินงบประมาณรายจ่าย

  19. เงินบำรุงของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเงินบำรุงของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข • เงินทั้งปวงที่สถานบริการการสาธารณสุข • ได้รับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ เนื่องจากการดำเนินงาน • ในกิจการของสถานบริการการสาธารณสุขตาม • หน้าที่ นอกเหนือจากเงินงบประมาณรายจ่าย

  20. กรมชลประทาน เงินรายได้ที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดินตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 170 สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 30 กันยายน 2556

  21. 100,367,420.92

  22. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 ที่มาของแนวปฏิบัติฯ • มติคณะรัฐมนตรี • วันที่ 15 มกราคม 2551 : ให้ กค. กำหนดแนวปฏิบัติฯ • วันที่ 28 ตุลาคม 2551 : เห็นชอบแนวปฏิบัติฯ และรูปแบบรายงานฯ และระยะเวลาการส่งรายงานฯ (60 วันนับจากวันสิ้นปีงบประมาณ)

  23. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 แนวทางปฏิบัติในการจัดทำรายงานฯ 1. กรณีหน่วยงานที่มีการจัดทำงบการเงิน - รายงานแสดงฐานะการเงิน - รายงานแสดงผลการดำเนินงาน - รายงานการรับ – จ่ายเงิน 2. กรณีหน่วยงานที่ไม่มีการจัดทำงบการเงิน - รายงานการรับ – จ่ายเงินและเงินคงเหลือ 3. นำเสนอการวิเคราะห์การดำเนินงาน และรายงานสรุปการประเมินผลการบริหารและการดำเนินงาน

  24. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 องค์ประกอบของการจัดทำรายงานฯ

  25. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170

  26. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 ตัวอย่างรูปแบบรายงานแสดงฐานะการเงิน

  27. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 ตัวอย่างรูปแบบรายงานแสดงฐานะการเงิน (ต่อ)

  28. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 ตัวอย่างรูปแบบรายงานแสดงผลการดำเนินงาน

  29. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 ตัวอย่างรูปแบบรายงานการรับ-จ่ายเงิน

  30. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 ตัวอย่างรูปแบบรายงานการรับ-จ่ายเงินและเงินคงเหลือ

  31. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170

  32. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 + สรุปข้อมูลทั่วไปของเงิน รายได้ที่ไม่ต้องนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน เช่น ประเภทเงิน ที่มาของเงิน วัตถุประสงค์ + สรุปผลการใช้จ่ายเงิน และข้อมูลอื่นๆ ผลการดำเนินงาน จากบุคคลที่ 3 (ถ้ามี) ผลการดำเนินงานจากบุคคลที่ 3 (ถ้าผลผลผ ผลการประเมินจากกรมบัญชีกลาง (กรณีทุนหมุนเวียน)

  33. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 ที่มาของการจัดส่งรายงานฯ • มติคณะรัฐมนตรี • วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2553 : ให้ส่งรายงานฯ มายัง กค. (บก.) • วันที่ 15 มิถุนายน 2553 : ให้ กค. ซักซ้อมแนวทางปฏิบัติฯ • และกำหนดระยะเวลา

  34. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 ขั้นตอนการจัดทำรายงานฯ และจัดส่งรายงานฯ ให้กรมบัญชีกลาง • 1. หน่วยงานของรัฐ (ภูมิภาค) • ดำเนินการ • สำรวจเงินรายได้ฯ จากทะเบียนคุม • จัดทำรายงานฯ แยกเป็นแต่ละประเภทเงินรายได้ฯ • จัดส่งรายงานฯ ให้ส่วนกลาง • 2. หน่วยงานของรัฐ (ส่วนกลาง) • ดำเนินการ • รวบรวมและจัดทำรายงานฯ ในภาพรวมของหน่วยงานแยกเป็นแต่ละประเภทเงินรายได้ฯ • จัดทำรายงานฯ ส่งให้กระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง) ภายใน 60 วันนับจากวันสิ้นปีงบประมาณ • 3. กระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง) • ดำเนินการ • จัดทำรายงานภาพรวมของเงินรายได้ฯ • นำเสนอต่อ ครม. และสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาทราบในลำดับต่อไป

  35. สิ่งที่ต้องดำเนินการสืบเนื่องสิ่งที่ต้องดำเนินการสืบเนื่อง • ตรวจสอบและยืนยันความครบถ้วนของรายงานประจำปี(ภายใน 30 ก.ย.ของทุกปี) • จัดทำและส่งรายงานฯ ประจำปี (เปรียบเทียบปี ก่อนกับปีปัจจุบัน) ภายในเดือนพฤศจิกายน ของทุกปี

  36. Q&A Thank you… กองการเงินและบัญชี กลุ่มเงินนอกงบประมาณ 02 241 0254 ภายใน 2434, 2337 • โทรสาร 02 667 0953 สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ กรมบัญชีกลาง  0 2127 7000 ต่อ 4406 ,4407, 4408 Email: Nonbuddg@cgd.go.th

More Related