1 / 87

บทที่ 7 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

บทที่ 7 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต. การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต. การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต. การเคลื่อนไหว เป็นการเคลื่อนย้ายเพียงบางส่วนของร่างกาย การเคลื่อนที่ เป็นการเคลื่อนย้ายจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง

reganne
Download Presentation

บทที่ 7 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 7การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

  2. การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

  3. การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต • การเคลื่อนไหว เป็นการเคลื่อนย้ายเพียงบางส่วนของร่างกาย • การเคลื่อนที่ เป็นการเคลื่อนย้ายจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง * การเคลื่อนที่จะต้องมีการเคลื่อนไหวด้วยเสมอ แต่การเคลื่อนไหวไม่จำเป็นต้องมีการเคลื่อนที่ด้วย

  4. โครงร่างสัตว์(animal skeleton) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1.Hydroskeleton or hydrostatic skeleton 2. Hard skeleton • 2.1 Exoskeleton • 2.2 Endoskeleton

  5. การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว การเคลื่อนไหวโดยอาศัยการไหลของไซโทพลาสซึม อมีบา(amoeba)

  6. การเคลื่อนไหวของอมีบาการเคลื่อนไหวของอมีบา • การเคลื่อนไหวอาศัยการไหลของไซโทพลาสซึม โดยแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ectoplasm(แข็ง) และ endoplasm(เหลว) • Actin และ Miosin ประกอบกันเป็น microfilament(เป็นเส้นใยโปรตีนเล็กๆ) หดตัวและคลายตัวได้ ทำให้เกิดการไหลของไซโทพลาสซึม • ทำให้เกิดเท้าเทียม(pseudopodium) • การเคลื่อนที่แบบอะมีบา (amoebiod movement) • ได้แก่ อมีบา เม็ดเลือดขาว ราเมือก

  7. ในเซลล์อมีบา การยื่นpseudopodium ออกไปเกิดจากการยืดและหดตัวของactin filaments

  8. การเคลื่อนไหวโดยการใช้แฟลกเจลลัม หรือซิเลีย แฟลกเจลลัม(flagellum)

  9. Euglena

  10. ซิเลีย(cilia)

  11. A comparison of the beating of flagella and cilia

  12. Microtubules เป็นแกนของflagellum และcilia

  13. Centrosome containing a pair of centrioles

  14. การเคลื่อนที่ของไฮดรา(Hydra)การเคลื่อนที่ของไฮดรา(Hydra) • ตีลังกา • เคลือบคลานเหมือนหนอน • ลอยไปตามน้ำ

  15. planaria

  16. การเคลื่อนที่ของพลานาเรีย(planaria)การเคลื่อนที่ของพลานาเรีย(planaria) • Phylum platyhelminthes • มีกล้ามเนื้อ 3 ชนิด คือ circular muscle ,longitudinal muscle,oblique muscle • เคลื่อนที่ไปโดยการลอยไปตามผิวน้ำหรือคลืบคลาน • ทางด้านล่างมีซิเลียช่วยในการโบกพัดช่วยให้เคลื่อนตัวได้ดียิ่งขึ้น

  17. การเคลื่อนที่ของหนอนตัวกลม(round worm) • Phylum nematoda ได้แก่ พยาธิไส้เดือน พยาธิปากขอ พยาธิเส้นด้าย หนอนน้ำส้มสายชู • มีเฉพาะกล้ามเนื้อตามยาวของลำตัว(longitudinal muscle) • การเคลื่อนที่ทำให้เกิดลักษณะส่ายไปส่ายมา

  18. การเคลื่อนที่ของไส้เดือน(earth worm)

  19. Phylum annelida • กล้ามเนื้อ 2 ชุดคือ กล้ามเนื้อวงกลม(circular muscle) อยู่ทางด้านนอก และกล้ามเนื้อตามยาว(longitudinal muscle) ตลอดลำตัวอยู่ทางด้านใน • เดือย(setae) • การเคลื่อนที่ของไส้เดือน(earth worm)

  20. การเคลื่อนที่ของแมงกะพรุน(jelly fish)

  21. Phylum coelenterata • เคลื่อนที่โดยการหดตัวของเนื้อเยื่อที่อยู่บริเวณของร่มและผนังลำตัวทำให้น้ำพ่นออกมาทางด้านล่าง

  22. การเคลื่อนที่ของหมึก(squid)การเคลื่อนที่ของหมึก(squid)

  23. การเคลื่อนที่ของหมึก(squid)การเคลื่อนที่ของหมึก(squid)

  24. การเคลื่อนที่ของดาวทะเล(sea star)

  25. Exoskeleton -พบในพวก mollusk และแมลง -เป็นโครงร่างเปลือกแข็งหุ้มอยู่ภายนอกร่างกาย โดยส่วนประกอบของเปลือกเป็นพวก crystallized mineral salt และไม่มีเซลล์ (acellular) เช่น แคลเซียมคาร์บอเนตใน mollusk, chitin ในแมลง -exoskeleton นอกจากจะทำหน้าที่ค้ำจุนร่างกายแล้ว ยังช่วยป้องกันการสูญเสียน้ำ -การเคลื่อนไหวเกิดขึ้นโดยการหด-คลายตัวของกล้ามเนื้อที่ยึดติดกับ exoskeleton

  26. -กล้ามเนื้อที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวมี 2 ชุด คือ 1. Flexors ทำให้เกิดการโค้งงอของข้อต่อเมื่อหดตัว 2. Extensors ทำให้เกิดการยืดตัวของข้อต่อเมื่อหดตัว -กล้ามเนื้อทั้งสองชุดนี้จะทำงานตรงข้ามกัน เมื่อกล้ามเนื้อชนิดหนึ่งหดตัว อีกชนิดหนึ่งจะคลายตัว (antagonism)

  27. การเคลื่อนที่ของแมลง

  28. insect • Exoskeleton เป็นสารพวกไคติน • ข้อต่อข้อแรกของขากับลำตัว แบบ ball and socket ส่วนข้อต่ออื่นๆเป็นแบบบานพับ • การเคลื่อนไหวเกิดจาการทำงานสลับกันของกล้ามเนื้อ flexer กับ extensor เป็นแบบ antagonism

  29. Moving the exoskeleton: Joints and muscle attachments Flexor = งอ Extensor = คลาย

  30. การเคลื่อนที่ของปลา

  31. มีรูปร่างแบนเพรียวบาง และเมือก มีเกล็ด ช่วยลดแรงเสียดทาน • เมื่อกล้ามเนื้อที่ยึดติดกับกระดูกสันหลังด้านใดด้านหนึ่งหดตัว(เริ่มจากส่วนหัวมาทางหาง)ทำให้เกิดการโบกพัดของครีบหาง(cadal fin) ดันให้ตัวพุ่งไปข้างหน้าโดยมีครีบหลัง(drosal fin) ช่วยในการทรงตัวไม่ให้เสียทิศทาง • เมื่อกล้ามเนื้อที่ยึดติดกระดูกสันหลังด้านหนึ่งหดตัว(เริ่มจากส่วนหัวมาทางส่วนหาง) • ครีบอก(pectoral fin) และครีบตะโพก (pelvicfin) ซึ่งเทียบได้กับขาหน้าและขาหลังของสัตว์บก จะทำหน้าที่ช่วยพยุงลำตัวปลา และช่วยให้เกิดการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง

  32. การเคลื่อนที่ของเต่าทะเล แมวน้ำ และสิงโตทะเล • มีขาคู่หน้าที่เปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะเป็นพาย ที่เรียกว่า ฟลิบเปอร์(flipper)

  33. การเคลื่อนที่ของสัตว์ปีกการเคลื่อนที่ของสัตว์ปีก

  34. การเคลื่อนที่ของนก • มีกระดูกที่กลวง ทำให้เบา • มีกล้ามเนื้อที่ใช้ในการขยับปีกที่แข็งแรง - กล้ามเนื้อ pectoralis major - กล้ามเนื้อ pectoralis minor • มีถุงลม (air sac) • มีขน (feather)

  35. ถุงลม (air sac)

  36. Endoskeleton -พบในสัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิด -เป็นโครงร่างแข็งที่แทรกตัวอยู่ในเนื้อเยื่อ (soft tissues)หรือภายในร่างกาย -endoskeleton ประกอบด้วย living and metabolizing cells (ต่างจาก exoskeleton)แบ่งเป็น 1. cartilageเป็นส่วนประกอบของ protein collagen และ complex polysaccharide 2. boneประกอบด้วย collagen ปนอยู่กับ apatite (calcium and phosphate salt) -นักกายวิภาคศาสตร์แบ่งกระดูกออกเป็น 2 ส่วน 1. Axial skeleton:กระดูกกะโหลก (skull), กระดูกสันหลัง (vertebral column), กระดูกซี่โครง (rib) 2. Appendicular skeleton:เป็นกระดูกที่ต่อออกมาจาก axial skeleton แบ่งเป็น 2.1 Fore-limb bone (กระดูกแขน) ยึดติดกับ axial skeleton โดยกระดูก pectoral girdle (clavicle, scapula) 2.2 Hind-limb bone (กระดูกขา) ยึดติดกับ axial skeleton โดยกระดูก pelvic girdle (ilium, sacrum, pubis, ischium)

  37. โครงสร้างของกระดูก การจำแนกชนิดกระดูก • กระดูกแท่งยาว (long bone) ได้แก่ ต้นแขน,ปลายแขน,ต้นขา,หน้าแข้ง,กระดูกน่อง,ไหปลาร้า • กระดูกแท่งสั้น (short bone) ได้แก่ ข้อมือ,ข้อเท้า • กระดูกแบน (flat bone) ได้แก่ กะโหลก,เชิงกราน,สะบัก,อก,ซี่โครง • กระดูกรูปร่างไม่แน่นอน (irregular bone) ได้แก่ สันหลัง,แก้ม,ขากรรไกร

  38. (pectoral girdle) สีน้ำเงินคือ กระดูกแกน 80 ชิ้น สีเหลืองคือ กระดูกรยางค์ 126 ชิ้น ilium sacrum pubis ischium

More Related