150 likes | 268 Views
ข้อสรุป. งานด้านตติยภูมิ เป็นงาน General Care ส่วน Excellent Center จะเป็น Subspecialty ที่มีความชำนาญเป็นพิเศษ มีการพัฒนาด้านกระบวนการโดยมีการกำหนด ตัวชี้วัดของงานทั้งตัวชี้วัดด้านกระบวนการ และ ตัวชีวัดด้านผลลัพธ์
E N D
ข้อสรุป • งานด้านตติยภูมิ เป็นงาน General Care ส่วน Excellent Center จะเป็น Subspecialty ที่มีความชำนาญเป็นพิเศษมีการพัฒนาด้านกระบวนการโดยมีการกำหนด ตัวชี้วัดของงานทั้งตัวชี้วัดด้านกระบวนการ และ ตัวชีวัดด้านผลลัพธ์ • เป็นงานที่ต่อยอดจากงาน HA ที่โรงพยาบาลที่ได้ผ่านการรับรองคุณภาพ / ระบบบริการตติยภูมิแล้ว • มีการกำหนดแผน - ระยะสั้น - ระยะกลาง - ระยะยาว
การดำเนินการที่ผ่านมาการดำเนินการที่ผ่านมา • ปีที่ 1 (2550) จัดทำร่างมาตรฐานระบบบริการที่มีความเป็นเลิศเฉพาะทางสุขภาพจิตและจิตเวช • ปีที่ 2 (2551) 1. นำร่างมาตรฐานที่กำหนดไปทดลองในโรงพยาบาลที่เข้าร่วม โครงการ 3 แห่ง คือ สถานบันกัลยาณ์ราชนครินทร์, โรงพยาบาล สวนปรุง และโรงพยาบาลศรีธัญญา 2. พัฒนาร่างมาตรฐานระบบบริการที่มีความเป็นเลิศเฉพาะทางสุขภาพจิตและ จิตเวชเป็นฉบับจริง 3. จัดทำร่างเกณฑ์การประเมินเข้าสู่การเป็นหน่วยบริการที่มีความเป็นเลิศ
ปี่ที่ 3 (2552) • มีโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มอีก 2 แห่ง คือ โรงพยาบาล สวนสราญรมย์ และ โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ • นำร่างเกณฑ์การประเมินเข้าสู่การเป็นหน่วยบริการที่มีความเป็นเลิศส่งให้ผู้มีส่วนไดส่วนเสียให้ข้อคิดเห็น เพื่อนำมาปรับปรุงและจัดทำเป็นฉบับจริง โดยรวมเล่มกับมาตรฐานฯ • พัฒนาบุคลากรเฉพาะทางฟื้นฟู/นิติจิตเวช • พัฒนาร่างมาตรฐานระบบบริการที่มีความเป็นเลิศเฉพาะทางด้านนิติจิตเวช
เป้าหมาย ปี 2553 (ตามโครงการ) หน่วยบริการจิตเวชที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานบริการจิตเวช เฉพาะทาง (Excellence Center)ในขั้นที่ 1 จำนวน 3 แห่ง หน่วยบริการจิตเวชที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานบริการจิตเวชเฉพาะทาง (Excellence Center)ในขั้นที่ 2 จำนวน 2 แห่ง หน่วยบริการจิตเวชเข้าร่วมโครงการพัฒนาหน่วยงานให้มีความเป็น เลิศเฉพาะทาง จำนวน 12 หน่วยงาน
เป้าหมายตามคำรับรองฯ กับกรมฯ (Templatep 212-219) กลุ่มที่ 1 หน่วยงานเริ่มดำเนินการเป็นปีแรก12 แห่งได้แก่ 1) สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา,2) โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์, 3) โรงพยาบาลจิตเวชสงขลาราชนครินทร์, 4)โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์, 5) โรงพยาบาลจิตเวชสระแก้วราชนครินทร์,6)โรงพยาบาลจิตเวชเลยราชนครินทร์, 7) โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราชนครินทร์,8) โรงพยาบาลจิตเวชนครพนมราชนครินทร์, 9)โรงพยาบาลยุวประสารทไวทโยปถัมภ์, 10) สถาบันราชานุกูล, 11) สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์,12) สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์
เป้าหมายตามคำรับรองฯ กับกรมฯ (Templatep 212-219) • กลุ่มที่ 2 หน่วยงานดำเนินการต่อเนื่องจำนวน 5 แห่ง ได้แก่ • โรงพยาบาลศรีธัญญา, • โรงพยาบาลสวนปรุง, • สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์, • โรงพยาบาลสวนสราญรมย์และ • โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์
ขอความร่วมมือในการดำเนินการในปี 2553 ดังนี้ • ส่งแผนฯ ภายในวันที่ 15 มกราคม 2553 (โดยวางแผนตามงบประมาณที่ได้) • กำหนดการดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในเดือนกรกฎาคม 2553 • รายงานผลการดำเนินการตามแผนไตรมาส ตามแบบรายงานของกรมฯ ประจำปี 2553 ที่ PM โดยทาง e mail : sty_ha@sruthanya.go.thหรือsukon2_ch@hotmail.com • ส่งแบบสรุปและประเมินผลตลอดปี 2553 และประเมินตนเองตามมาตรฐานฯ ภายในเดือน กรกฎาคม 2553
ติดต่อผู้ประสานงาน : นางสุคนธ์ ชมชื่น โทร. 0 2525 2333-5 ต่อ 2131 0 2968 9954 089 600 8382 แฟกซ์ 0 2968 9954
มาตรฐาน Excellence Center 1. นโยบายและขั้นตอนการทำงาน (Policies and procedures) 2. ข้อบ่งชี้ในการรับเข้าบำบัดรักษา (Admission criteria) 3. การให้การดูแลช่วยเหลือที่สำคัญ (Core interventions) 4. การทำงานของทีมสหวิชาชีพ (MultidisciplinaryTeam Working) 5. สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Physical environment) 6. โครงสร้างการให้บริการ : บุคลากร (Service structure: personnel)
มาตรฐาน Excellence Center (ต่อ) 7. หน้าที่ของผู้ดูแลผู้ป่วย (Carer involvement) 8. ระบบเอกสาร (Documentation) 9. เชื้อชาติ,วัฒนธรรม ของผู้ป่วย (Ethnicity and culture) 10. การกำกับดูแล (Supervision) 11. การประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ (Liaison with other agencies) 12. การตรวจสอบและเฝ้าระวังการดำเนินการทางคลินิก (Clinical audit & monitoring)
มาตรฐาน Excellence Center (ต่อ) 13. การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน (Staff training) 14. การบริการเพื่อสนับสนุนการทำงาน (Support services system) 15. งานวิจัย (Research) 16. งานฝึกอบรม (Training) 17. ตัวชี้วัดประเมินความเป็นเลิศของการบริการเฉพาะด้าน (Indicator)