1.41k likes | 3.05k Views
รูปแบบของการท่องเที่ยว. รูปแบบของการท่องเที่ยว. 1. การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ( Eco-tourism) 2. การท่องเที่ยวเชิงเกษตร (Agrotourism) 3. การท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม (Cultural tourism). รูปแบบของการท่องเที่ยว (ต่อ). 4. การท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์และวัฒนธรรม พื้นถิ่น (Ethnic tourism)
E N D
รูปแบบของการท่องเที่ยวรูปแบบของการท่องเที่ยว
รูปแบบของการท่องเที่ยวรูปแบบของการท่องเที่ยว • 1. การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Eco-tourism) • 2. การท่องเที่ยวเชิงเกษตร (Agrotourism) • 3. การท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม (Cultural tourism)
รูปแบบของการท่องเที่ยว (ต่อ) • 4. การท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์และวัฒนธรรม พื้นถิ่น (Ethnic tourism) • 5. การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Health tourism) • 6. การท่องเที่ยวเชิงกีฬา (Sport tourism) • 7. การท่องเที่ยวเชิงผจญภัย (Adventure tourism)
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Eco-tourism) • มีองค์ประกอบสำคัญ 6 ข้อคือ • 1. การท่องเที่ยวในแหล่งธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น • ป่าดงดิบ/ป่าเบญจพรรณ/ป่าพรุ/ป่าชายเลน
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ(ต่อ)การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ(ต่อ) • 2. การท่องเที่ยวในแหล่งวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่อง กับระบบนิเวศ เช่น ดอนปู่ตา • 3. มีการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมร่วมกันของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีระบบ • เจ้าบ้าน/มัคคุเทศก์/นักท่องเที่ยว • การจัดการขยะ,น้ำทิ้ง,มลพิษทางเสียงและอากาศ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ(ต่อ)การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ(ต่อ) • 4. มีการจัดการด้านการให้ความรู้ • ป้ายสื่อความหมายธรรมชาติ • คู่มือท่องเที่ยวในพื้นที่ • 5. เจ้าของแหล่งท่องเที่ยวเป็นผู้รับผิดชอบ • คนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการวางแผน จัดการ รับผลประโยชน์
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ(ต่อ)การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ(ต่อ) 6. เป็นการเที่ยวที่นักท่องเที่ยวได้ รับความ เพลิดเพลิน และประทับใจ • ได้ประสบการณ์ใหม่ จากการเที่ยว
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ(ต่อ)การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ(ต่อ) • การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ • การท่องเที่ยวเพื่อธรรมชาติ • การท่องเที่ยวสีเขียว • การท่องเที่ยวเชิงชีวภาพ • การท่องเที่ยวเพื่อรักษาระบบนิเวศ • นิเวศสัญจร
ประเภทของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศประเภทของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 1. ทางบก • ป่าดงดิบ / ป่าเบญจพรรณ / ป่าสนเขา / พืชพรรณ • ภูเขา / ถ้ำ / น้ำตก / ลำห้วย / สัตว์ป่า • ชุมชนที่อาศัยอยู่ในป่าเขา
ประเภทของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ(ต่อ)ประเภทของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ(ต่อ) 2.ทางทะเล • ชายฝั่งทะเล / ป่าชายเลน / เกาะแก่ง • หาดทราย / แนวปะการัง / สัตว์ทะเล • วิถีชีวิตชาวเล
กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ • การเดินป่า • การส่องสัตว์ / ดูนก • การเที่ยวถ้ำ / น้ำตก • การตั้งแคมป์ • การดำน้ำดูปะการัง (น้ำตื้น, น้ำลึก)
กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (ต่อ) • การขี่จักรยานเสือภูเขา • การศึกษาท้องฟ้าและดวงดาว
กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
การท่องเที่ยวเชิงเกษตร (Agrotourism) หมายถึง การท่องเที่ยวที่มีกิจกรรมการเกษตรเป็นทรัพยากรการท่องเที่ยวหลัก มีการจัดระบบการให้บริการไว้รองรับนักท่องเที่ยว เป็นการสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร
ประเภทของการท่องเที่ยวเชิงเกษตรประเภทของการท่องเที่ยวเชิงเกษตร 1. การกสิกรรม • 1.1 การทำนา • 1.2 การเกษตรผสมผสาน • 1.3 สวนผลไม้ • 1.4 ไม้ดอกไม้ประดับ 1.5 ศูนย์ศึกษาและศูนย์วิจัยทดลอง 1.6 ตลาดการเกษตร
ประเภทของการท่องเที่ยวเชิงเกษตร(ต่อ)ประเภทของการท่องเที่ยวเชิงเกษตร(ต่อ) 2. การประมง • การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ • จับสัตว์น้ำ 3. การทำป่าไม้ • สวนป่าสัก
ประเภทของการท่องเที่ยวเชิงเกษตร(ต่อ)ประเภทของการท่องเที่ยวเชิงเกษตร(ต่อ) 4. การปศุสัตว์ • เลี้ยงสัตว์ใหญ่ - โค กระบือ ม้า • เลี้ยงสัตว์เล็ก - กระต่าย สุกร แพะ • เลี้ยงสัตว์ปีก - ไก่ เป็ด นก
กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร 1. การนำเที่ยวชมสวนเกษตร • สวนผลไม้ • ให้นักท่องเที่ยวชิมผลไม้ในสวน/เลือกเก็บด้วยตัวเอง • สวนดอกไม้ • ดอกกล้วยไม้ / ดอกไม้เมืองหนาว
กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร(ต่อ)กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร(ต่อ) • สวนสมุนไพร • นำเที่ยวเดินป่าชมสมุนไพร • ชมการทำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร และเลือกซื้อ 2. การนำเที่ยวเทศกาลงานวันเกษตร • งานมะขามหวาน จ.เพชรบูรณ์ • งานเทศกาลผลไม้ จ.ระยอง
กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร(ต่อ)กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร(ต่อ) 3. การนำเที่ยวชมฟาร์มปศุสัตว์ • ฟาร์มโชคชัย 4. การนำชมการทำนาแบบดั้งเดิม 5. การนำชมหมู่บ้านชาวประมง • การไดหมึก การตกปลา การตกกุ้ง
การท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรมCultural Tourism หมายถึง การท่องเที่ยวเพื่อชมหรือสัมผัส • ศิลปวัฒนธรรมแขนงต่างๆ • งานเทศกาล ประเพณี • โบราณสถาน และ ศาสนสถาน
ประเภทของการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรมประเภทของการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม แบ่งตามลักษณะทรัพยากรการท่องเที่ยวเป็น 3 ประเภท คือ 1. การท่องเที่ยวแหล่งประวัติศาสตร์ • โบราณสถาน เช่น พระราชวัง กำแพงเมือง พระอารามหลวง วัด • ย่านประวัติศาสตร์ เมืองร้าง
ประเภทของการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม(ต่อ)ประเภทของการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม(ต่อ) 2. การท่องเที่ยวงานเทศกาล ประเพณี พิธีกรรม • แห่เทียนเข้าพรรษา • สงกรานต์ • ลอยกระทง • ผีตาโขน • ฯลฯ
ประเภทของการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม(ต่อ)ประเภทของการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม(ต่อ) 3. การท่องเที่ยวเพื่อชมศิลปกรรมทุกแขนง • สถาปัตยกรรม-สิ่งที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่อยู่อาศัย • จิตรกรรมหรือภาพเขียน • ประติมากรรม - รูปทรง 3 มิติ • หัตถกรรม • นาฏศิลป์ • ดนตรี
การท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์และวัฒนธรรมพื้นถิ่นEthnic Tourism • หมายถึง การท่องเที่ยวเพื่อสัมผัสโดยตรงกับคนที่มีเชื้อชาติและภูมิหลังทางวัฒนธรรมที่แตกต่างไปจากตัวนักท่องเที่ยว • เป็นจุดขายของการท่องเที่ยวในหลายประเทศในทวีปแอฟริกา เอเชีย
ประเทศไทยประกอบด้วยกลุ่ม ชาติพันธุ์จำนวนมาก • ภาคเหนือ - กะเหรี่ยง ม้ง ลีซอ อะข่า • ภาคอีสาน - ภูไท ญ้อ ส่วย • ภาคกลาง - ลาวโซ่ง มอญ • ภาคใต้ - ชาวเล มอร์แกน
กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์และวัฒนธรรมพื้นถิ่นกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์และวัฒนธรรมพื้นถิ่น การนำเที่ยวชมและร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ • การชมหมู่บ้านกะเหรี่ยงคอยาว จ.แม่ฮ่องสอน • เกาะเกร็ด จ.นนทบุรี
กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์และวัฒนธรรมพื้นถิ่นกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์และวัฒนธรรมพื้นถิ่น การพักค้างแรม หรือ Homestay นักท่องเที่ยวพำนักอาศัยอยู่กับกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งๆ เป็นระยะเวลาหนึ่ง และใช้ชีวิตเหมือนชนพื้นเมืองนั้น
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Health Tourism) หมายถึง การท่องเที่ยวเพื่อบำบัดโรค หรือ บำรุงสุขภาพกายและจิตของนักท่องเที่ยว
ประเภทของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพประเภทของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ 1. การท่องเที่ยวเพื่อรักษาสุขภาพที่ดีอยู่ให้ดียิ่งขึ้น • การอาบน้ำแร่ • การนวดแผนโบราณ • การนั่งสมาธิ • การฝึกโยคะ • ทัวร์อาหารเพื่อสุขภาพ • Spa
ประเภทของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพประเภทของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ 2. การท่องเที่ยวเพื่อฟื้นฟูสุขภาพ หรือพักฟื้น • อากาศที่บริสุทธิ์ • ชีวาศรม 3. การท่องเที่ยวเพื่อการรักษาโรคของนักท่องเที่ยว • ค่ารักษาพยาบาลของประเทศไทยถูก • หมอไทยมีฝีมือ
การท่องเที่ยวเชิงกีฬา (Sport tourism) หมายถึง การท่องเที่ยวเพื่อการออกกำลังกายหรือการเล่นกีฬาเพื่อรักษาสุขภาพ • การเล่นกอล์ฟ • การขี่จักรยานเสือภูเขา • การพายเรือ
การท่องเที่ยวเชิงผจญภัย(Adventure tourism) เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของการท่องเที่ยวเชิงกีฬา แต่เน้นการท้าทายความสามารถและความตื่นเต้นในการทำกิจกรรม • การไต่หน้าผา • การปีนเขา • การล่องแก่ง