1 / 48

พยาบาลผู้จัดการรายกรณี ...กับการลดจำนวนวันนอน

พยาบาลผู้จัดการรายกรณี ...กับการลดจำนวนวันนอน. วันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. พยาบาลผู้จัดการรายกรณี … กับการลดจำนวนวันนอน. การจัดการรายกรณี ขั้นตอนและรูปแบบ การจัดการข้อมูลและผลลัพธ์ ความแปรปรวนกับจำนวนวันนอน ตัวอย่าง. Case m anagement.

raoul
Download Presentation

พยาบาลผู้จัดการรายกรณี ...กับการลดจำนวนวันนอน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พยาบาลผู้จัดการรายกรณี...กับการลดจำนวนวันนอนพยาบาลผู้จัดการรายกรณี...กับการลดจำนวนวันนอน วันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  2. พยาบาลผู้จัดการรายกรณี…กับการลดจำนวนวันนอนพยาบาลผู้จัดการรายกรณี…กับการลดจำนวนวันนอน • การจัดการรายกรณี • ขั้นตอนและรูปแบบ • การจัดการข้อมูลและผลลัพธ์ • ความแปรปรวนกับจำนวนวันนอน • ตัวอย่าง

  3. Case management = กระบวนการประสานงานร่วมกันในการจัดแบบแผนการดูแลกลุ่มผู้ป่วยที่เลือกสรร (case type)อย่างเป็นระบบ โดยครอบคลุมการประเมิน วางแผน ติดตาม และประเมินผล เพื่อให้การดูแลมีความต่อเนื่อง สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพของผู้ป่วย รวมทั้งส่งเสริมการดูแลอย่างมีคุณภาพ คุ้มค่าคุ้มทุน (American Case Management Society of America– CMSA,2007)

  4. Disease management • = ระบบการประสานงานการบริการสุขภาพ และการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ เพื่อส่งเสริมการจัดการตนเอง และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ของกลุ่มผู้รับบริการ • (DMAA, 2004)

  5. ลักษณะการจัดการดูแลผู้ป่วยรายกรณีลักษณะการจัดการดูแลผู้ป่วยรายกรณี • มีผู้จัดการ (case manager) • เน้นการทำงานร่วมกันของทีมสหสาขาวิชาชีพ • เน้นการใช้ทรัพยากรทางสุขภาพอย่างเหมาะสม • เน้นผลลัพธ์บริการที่มีคุณภาพ • ลดภาวะแทรกซ้อนไม่พึงประสงค์ • ความคุ้มค่า (เวลา จำนวนวันนอน ค่าใช้จ่าย ) • การบริการที่ต่อเนื่อง

  6. องค์ประกอบ Clinical Pathway Multidisciplinary Team Pt Case Manager

  7. System Manager ( พัฒนาการบริหารจัดการ) แพทย์ที่ดูแลทางคลินิก ( Update CPG ) Case manager หรือ Diseasemanager ระดับ รพ. ( พัฒนาการจัดการ Chronic Care) (สปสช 2553) การพัฒนา

  8. Case Manager Case Manager เป็นผู้ประสานงานหลัก เช่น • RN -พยาบาลที่มีประสบการณ์การดูแลเฉพาะในแต่ละกลุ่มผู้ป่วยของ case type • Advanced Practice Nurse • Team Member อื่นๆ เช่น สังคมสงเคราะห์

  9. บทบาท Case Manager • ประสานงาน และนิเทศการดูแลที่ให้แก่ผู้ป่วย ตาม case type/specific group • ติดตาม ช่วยเหลือให้กระบวนการการดูแลดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ • บริหารจัดการเรื่องการควบคุมค่าใช้จ่ายตามกลุ่มผู้ป่วย

  10. บทบาท Case Manager • ริเริ่มและสนับสนุนการปรับเปลี่ยนลักษณะการปฏิบัติงานของทีมสุขภาพและพยาบาล โดยใช้CQI, Outcome management,และ evidence-based practice เพื่อเพิ่มคุณภาพการบริการ โดยทั่วไปcase load จะอยู่ประมาณ 10-25cases(Huber, 2005)

  11. Patient • การกำหนดกลุ่มผู้ป่วย อาจใช้การอิงเกณฑ์หรือกลุ่ม ดังนี้ 1. เป็นกลุ่มที่ต้องใช้ค่าใช้จ่ายในการรักษาสูง ระยะเวลารักษาตัวใน โรงพยาบาลนาน เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ง่าย 2. ต้องการการดูแลรักษาจากทีมสุขภาพหลายฝ่าย 3. ลักษณะการเจ็บป่วยเรื้อรัง เช่น ผู้ป่วยจิตเวช กลุ่มโรคเรื้อรัง 4. กลุ่มที่มีความเสี่ยงด้านเศรษฐกิจ และสังคม (สำนักการพยาบาล, 2545)

  12. Multidisciplinary team • เน้นสาขาวิชาชีพที่ร่วมรับผิดชอบดูแลผู้ป่วย ตามปัญหา/ความต้องการของผู้ป่วยใน case type เพื่อกำหนดผลลัพธ์ (outcomes)ของการดูแลผู้ป่วยร่วมกัน

  13. Clinical Pathway

  14. Clinical Pathway องค์ประกอบ: • กำหนดเวลาและผลลัพธ์ที่คาดหวัง • ประเด็นการดูแล/ กิจกรรม • บันทึกความแปรปรวน(Variance)

  15. แบบบันทึกความแปรปรวน (Variance record)

  16. การบันทึกความแปรปรวน มีประโยชน์ในการ trace ปัญหาการดูแล เช่น • Clinical problems • Practitioner issues • Community issues • Caregivers issues • System issues

  17. ความแปรปรวนกับ LOS หากความแปรปรวนใด กระทบต่อ LOS ผู้จัดการรายกรณี ควรพิจารณาใน 2 ประเด็น ได้แก่ • การเพิ่ม LOS • การลด LOS โดยทั้ง 2 ประเด็นมีความสำคัญต่อ cost and quality of care

  18. Model of case management 1. ดำเนินการครอบคลุมทั้งโรงพยาบาล(Hospital Based) 2. ดำเนินการในหน่วยบริการบางหน่วย(Unit Based) 3. ดำเนินการในชุมชน ( Community/Population Based) 4. ดำเนินการรายโรค (Disease Management)

  19. Hospital-based CM ER/OPD OR PACU/ ICU IPD ดีขึ้น ไม่ดีขึ้น D/C Home care management

  20. Community-based CM Referral to Community Assessment Development of Initial Service Plan + Case conferencing Intervention + Monitoring ดีขึ้น ไม่ดีขึ้น Case closure Crisis intervention

  21. Unit-Based CM Tools - Care pathway - CPG • Case Manager • RN • APN • Unit Based • Case Management • แพทย์ • พยาบาล • สังคมสงเคราะห์ • โภชนากร • เภสัชกร • กายภาพบำบัด • PCU

  22. Disease management HYPERTENTION • Eye • Heart • Brain • Kidney • Lower Extremity HT Pregnancy Childhood obesity Obesity Risk Prenatal 1-2 3-4 5-12 13-19 20 40 65 > 80 Screening Screening Risk group : Family history Overweight or Obesity Excess intake Sodium Low intake Fruit & Vegetable Alcohol

  23. ตัวอย่าง

  24. โครงสร้างการจัดระบบ case management • Policy • Committee • Strategic plan • Tool development • Human resource management • Outcome management

  25. ขั้นตอนของการจัดการรายกรณีขั้นตอนของการจัดการรายกรณี • คัดเลือกผู้ป่วยตามเกณฑ์ (Case selection) • ประเมินและวางแผนการให้บริการ (Assessment & Plan) • ประสานงานบริการ (Collaboration) • ติดตามอย่างต่อเนื่อง และวิเคราะห์ความแปรปรวน (Monitoring & Variance analysis) • ประเมินผล (Evaluation)

  26. Flow ดำเนินการ CM OPD / ER คัดกรองผู้ป่วยตาม เกณฑ์ CM แพทย์ตรวจวินิจฉัยรับผู้ป่วยไว้ในรพ. ไม่ใช่ บริการตามปกติ ใช่ CM OPD / ER ประสาน CM IPD หอผู้ป่วยแรกรับ CM IPD แรกรับดำเนินการตาม Clinical Pathway มี ประเมินความแปรปรวน หาสาเหตร่วมกับสหวิชาชีพ 26 ไม่มี

  27. Mental disorders • Schizophrenia • Bipolar disorder • Anxiety disorders 3.1 Panic disorder 3.2 Generalized anxiety disorder 4. Major Depressive disorder • Alcohol dependence/harmful use • Drug dependence/harmful use

  28. ผลกระทบของความเจ็บป่วยทางสุขภาพจิตและจิตเวชผลกระทบของความเจ็บป่วยทางสุขภาพจิตและจิตเวช • ผู้ป่วย – Health, DALY • ครอบครัว –Burden &Safety issues • ชุมชน – Safety issues • สังคม – Unmet healthy society • ประเทศ – Cost, Productivity

  29. Community Nurse Case Management Problem list and plan of care • Mental status • Functional health pattern • Medication management • Safety at home

  30. Community Nurse Case Management Problem list and plan of care • Mental status • Functional health pattern • Medication management • Safety at home

  31. Community Nurse Case Management Goal: • ผู้ป่วยมีอาการและอาการแสดงของ anxiety/ depression/ impaired thought process ลดลง • ผู้ป่วยมีความสามารถในการเผชิญปัญหาด้านต่างๆ สามารถดูแลตนเองได้ และดำเนินชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย

  32. Community Nurse Case Management Mental status • Disorientation • Potential for anxiety • Potential for depression • Ineffective coping abilities

  33. Community Nurse Case Management Functional health pattern • Eating • Bathing + Dressing • Sleeping • Mobility • Eliminating

  34. Community Nurse Case Management Medication management • Knowledge about prescribed medications • Medication compliance

  35. Community Nurse Case Management Safety at home • Use family-centered care • Use community participation • Seek appropriate support system

  36. Case documentation

  37. Home visit report

  38. ตัวอย่างการจัดการดูแลตัวอย่างการจัดการดูแล

  39. Case closure • ในโรงพยาบาล ปิด case เมื่ออาการดีขึ้น โดยใช้mental test และผลลัพธ์ที่คาดหวังในระยะเวลาที่กำหนดเป็นเกณฑ์ในการประเมิน • ในชุมชน ปิด case เมื่อการดูแลตนเองของผู้ป่วยและครอบครัว/ผู้ดูแล/ชุมชน อยู่ในเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในการประเมินผลลัพธ์ระยะยาว (เช่น ใช้K, B, S)

  40. การจัดการข้อมูล • สรุปจำนวน case ที่รับไว้ดูแล จำนวน caseที่ยุติการดูแล ในแต่ละประเภท (ดีขึ้น readmit อื่นๆ) และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น • ประมวล varianceที่เกิดขึ้น และวิเคราะห์ว่ามีสาเหตุจากอะไร เช่น • ตัวผู้ป่วยเอง ญาติผู้ดูแล • บุคลากร • ระบบบริการ • เขียนรายงานสรุป พร้อมข้อเสนอแนะในการปรับปรุงหรือลดvarianceที่มีอยู่

  41. ผลลัพธ์การดูแล • ความพึงพอใจของผู้ป่วย ครอบครัว บุคลากร • อัตราการกลับเข้ารักษาซ้ำในโรงพยาบาล • อัตราการมาใช้บริการที่แผนกฉุกเฉิน/ ผู้ป่วยนอกก่อนกำหนด • ความรู้ความเข้าใจของผู้ป่วยและครอบครัวต่อการเจ็บป่วยและแผนการรักษา • ภาวะสุขภาพ/คุณภาพชีวิตของผู้ป่วย • ค่าใช้จ่ายในการรักษา

  42. ตัวชี้วัด 1.ด้านปริมาณ 1.1 ความครอบคลุม ในการประเมิน ดูแล ติดตามผู้ป่วยจิตเวชอย่างต่อเนื่อง ตามเกณฑ์ที่กำหนด 1.2ความครอบคลุม ในการประสานงาน ส่งต่อ ผู้ป่วยจิตเวช กับเครือข่ายชุมชนที่เกี่ยวข้อง ตามเกณฑ์ที่กำหนด

  43. ตัวชี้วัด 2.ด้านคุณภาพ 2.1 %ของผู้ป่วยจิตเวช ที่มีค่า QOL เพิ่มขึ้น 2.2 %ของผู้ป่วยจิตเวช ที่มีค่าBPRS ลดลง 2.3 % การReadmit ภายใน28 วันของ ผู้ป่วยจิตเวชลดลง

  44. การพัฒนาระบบ Case management ในผู้ป่วยจิตเวชระดับตติยภูมิสู่ชมชน • มูเซอร์ และคณะ(1998)ทบทวนงานวิจัยเกี่ยวกับผลของการใช้การจัดการดูแลผู้ป่วยเป็นรายกรณี ในการดูแลผู้ป่วยจิตเภทเรื้อรังในชุมชน ผลการศึกษาพบว่า การนำการจัดการดูแลผู้ป่วยเป็นรายกรณีมาใช้ทำให้เกิดประโยชน์ต่อผู้ป่วย คือ • ผู้ป่วยสามารถใช้ชีวิตอยู่ในชุมชนของตนได้นานขึ้น ช่วยลดระยะเวลาในการอยู่ในโรงพยาบาลลงได้ • ในกลุ่มที่มีประวัติเข้าออกโรงพยาบาลบ่อยๆ จะช่วยลดอาการทางจิตได้ ช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยให้ดีขึ้น • ช่วยเพิ่มการทำหน้าที่ทางสังคมของผู้ป่วย

  45. ตัวอย่างการพัฒนาระบบ Case management ในผู้ป่วยจิตเวชระดับตติยภูมิ ผลการดำเนินงาน ได้นวัตกรรมการดูแลผู้ป่วยจิตเภทซับซ้อน ดังนี้ • แนวทางการรักษาพยาบาลผู้ป่วยจิตเภทระยะเฉียบพลัน (Clinical Pathway) • แนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยจิตเภท (CNPG) ระยะเฉียบพลัน และระยะฟื้นฟูสมรรถภาพในชุมชน • คู่มือการดูแลผู้ป่วยจิตเภทซับซ้อนโดยใช้ระบบ Case Managementสำหรับทีมสหวิชาชีพ • โปรแกรมการดูแลผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภทแบบองค์รวมสำหรับบุคลากรและผู้ดูแล

  46. ตัวอย่างการพัฒนาระบบ Case management ในผู้ป่วยจิตเวชระดับตติยภูมิ • พัฒนารูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีในการดูแลผู้ป่วย โรคจิตเภทแบบ Unit- based • ภายหลังการทดลองใช้รูปแบบ พบว่า 1 ) ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติกิจกรรมการดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสมตามเป้าหมาย 2 ) ผู้ป่วยมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด 3 ) ผู้ดูแลในครอบครัวมีความพึงพอใจในระดับมากถึงมากที่สุด 4 ) ความคิดเห็นของพยาบาลต่อบทบาท/กิจกรรมของผู้จดการรายกรณีมีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด (นงนุช แต่งสิงห์ตรง, สุดคนึง ปลั่งพงษ์พันธ์.2549)

  47. ประเด็นคุณภาพ • ทำอย่างไร จึงจะทำให้ทุกฝ่ายเห็นการเปลี่ยนแปลง อย่างเป็นรูปธรรม หลังจากมีการพัฒนาระบบการจัดการรายกรณี ?? • ผลลัพธ์ด้านผู้ป่วย • ผลลัพธ์ด้านผู้ให้บริการ • ผลลัพธ์ด้านระบบบริการ

  48. สรุป • การจัดการรายกรณี ช่วยให้การดูแลปัญหาสุขภาพของผู้ป่วย เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเกิดผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้ป่วย ลดจำนวนวันนอนที่ไม่จำเป็น ช่วยให้มีการบริหารทรัพยากรสุขภาพอย่างคุ้มค่ามากขึ้น

More Related