920 likes | 1.49k Views
การเตรียมความพร้อมก่อนเกิดภัยสารเคมี. ศศินัดดา สุวรรณ โณ นักวิชาการสาธารณสุข ชำนาญการพิเศษ. สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี. สาธารณภัย. ภัย จากธรรมชาติ ( Natural Disaster) ภัย จากมนุษย์ ( Technological Disaster). ภัยจากธรรมชาติ. อุทกภัย น้ำท่วม วาต ภัย พายุ
E N D
การเตรียมความพร้อมก่อนเกิดภัยสารเคมีการเตรียมความพร้อมก่อนเกิดภัยสารเคมี ศศินัดดา สุวรรณโณ นักวิชาการสาธารณสุข ชำนาญการพิเศษ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี
สาธารณภัย • ภัยจากธรรมชาติ • (Natural Disaster) • ภัยจากมนุษย์ (Technological Disaster)
ภัยจากธรรมชาติ • อุทกภัย น้ำท่วม • วาตภัย พายุ • แผ่นดินไหว • แผ่นดินถล่ม • อื่น ๆ ภัยจากมนุษย์ • จราจร • ไฟไหม้ • ระเบิด • สารเคมี • สารรังสี • เครื่องบินตก • อื่น ๆ
ปัญหาจากสารเคมีที่พบ • ภาวะฉุกเฉินจากการระเบิด รั่วไหล อัคคีภัย • ภาวะทั่วไปเมื่อมีการสัมผัสสารเคมีแล้วเข้าสู่ร่างกาย ทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพแบบเฉียบพลัน กึ่งเรื้อรัง และเรื้อรัง • ภาวะก่อเหตุรำคาญ ภัยจากสารเคมี • ยังเป็นปัญหาต่อทุกประเทศ • ปัญหาจากพิษภัยสารเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมปรากฏตัวชัดเจนขึ้นเรื่อย ๆ
ตัวอย่างอุบัติภัยสารเคมีตัวอย่างอุบัติภัยสารเคมี ปี 2534 เมื่อโกดังสารเคมีระเบิดที่คลองเตย ไม่มีผู้ใดทราบว่าสารที่ไหม้ไฟมีอะไรบ้าง ปริมาณเท่าไหร่ แต่ผลกระทบที่เกิดขึ้นยังคงมีให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน โกดังสารเคมีคลองเตยระเบิด : ผลกระทบจากการได้รับภัยฉับพลัน • บ้านเรือน 642 หลังถูกไฟไหม้ 450 หลังเสียหาย คน 5,417 คนไร้ที่ อยู่อาศัย โกดัง 3 หลังถูกเผา • เสียชีวิตในที่เกิดเหตุ 4 คน เจ็บ 43 คน หนึ่งเดือนหลังเกิดเหตุมี ผู้ป่วยต้องรักษาในโรงพยาบาล ~ 1,200 คน • อาการที่ปรากฏ = เกร็ง ชักกระตุก ชาตามลิ้นและริมฝีปาก มีไข้ ไอ คอ แห้ง มีผื่นคัน อาเจียนเป็นเลือด ท้องเดิน แสบตา เจ็บคอ ปวด หัว ทารกในครรภ์ไม่ดิ้น • ปี 2544 มีการสำรวจพบชาวบ้านยังมีอาการป่วยอยู่ (ส่วนใหญ่เป็น คนแก่) เช่น ผื่นคัน หายใจลำบาก อัมพฤต สมองและประสาทสัมผัส ทำงานไม่ปกติ หัวใจ อ่อนเพลีย เครียด ทำงานไม่ได้
ตัวอย่างอุบัติภัยสารเคมีตัวอย่างอุบัติภัยสารเคมี • 19 ก.ย. 42 โปแตสเซียมคลอเรตระเบิด เชียงใหม่ • 29 ก.ย. 42 แอมโมเนียรั่ว คลองเตย กรุงเทพ ฯ • 16 ก.พ. 43 กากโคบอลต์ 60 รั่ว สมุทรปราการ • 6 มี.ค. 43 คาร์บอนิล คลอไรด์ รั่ว ระยอง • 5 ก.ย. 44 รถบรรทุกอะคริโลไนไตรลคว่ำ กรุงเทพ ฯ
ตัวอย่างอุบัติภัยสารเคมีตัวอย่างอุบัติภัยสารเคมี
การรั่ว ของ Hydrogen sulfide • 13 ก.พ. 2552 อุบัติภัยแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์รั่ว บริษัท ปตท. เคมีคอล จำกัด (มหาชน) จ.ระยอง ส่งผลให้คนงานและผู้รับเหมาจำนวน 27 ราย ได้รับแก๊สพิษทำให้เกิดอาการมึนศีรษะแน่นหน้าอก หายใจไม่ออก จนต้องนำตัวส่งโรงพยาบาล • 19 ธ.ค. 2552 อุบัติภัยจากแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์รั่ว ที่โรงงานไทยเรยอน จ.สระบุรี โรงงานผลิตเรยอนใช้แก๊สมีเทนกับกำมะถันทำปฏิกิริยาได้ผลิตภัณฑ์เป็นคาร์บอนไดซัลไฟด์และไฮโดรเจนซัลไฟด์ โดยแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ถูกนำกลับไปผ่านกระบวนการผลิตกำมะถันกลับคืนมาใหม่อุบัติภัยเกิดหลังจากที่ทางโรงงานซ่อมระบบสัญญาณเตือนภัยเสร็จ และเมื่อเปิดใช้ระบบพบว่ามีสัญญาณเตือนแจ้งว่ามีไฮโดรเจน ซัลไฟด์สะสมมากผิดปกติในบางจุด วิศวกรรีบเข้าไปยังที่เกิดเหตุโดยขาดความชำนาญในการรับมือกับสารเคมีดังกล่าวเป็นเหตุให้วิศวกรได้รับบาดเจ็บ 4 รายและเสียชีวิต 1 ราย
เหตุการณ์การเกิดเพลิงไหม้ของโรงงานบีเอสที อิลาสโรเมอร์ส จำกัด จ.ระยอง เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2555 พบว่าจากเหตุการณ์ในครั้งนี้ทำให้ผู้เสียชีวิตจำนวน 12 คน และบาดเจ็บรวม 142 คน มูลค่าความเสียหาย 1,700 ล้านบาท สาเหตุหลักของการเกิดเพลิงไหม้ในครั้งนี้ มาจาก สารโทลูอีนจากรายงานความเสียหายที่เกิดขึ้น นับว่าเป็นความสูญเสียอย่างมหาศาล สารโทลูอีนสามารถอยู่ในชั้นบรรยากาศที่มีโอโซนและแสงแดดได้นานถึง 27,950 วัน หรือประมาณ 76 ปีดังนั้นหากเกิดเพลิงไหม้หรือการรั่วไหลของสารโทลูอีนเท่ากับเป็นการเพิ่มปริมาณการสะสมโทลูอีนในบรรยากาศ อุบัติภัยจากสารโทลูอีน
ก๊าซคลอรีนรั่วไหล • ส่วนใหญ่สาเหตุหลักมาจากการรั่วไหลของก๊าซคลอรีน ตัวอย่างเช่นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นล่าสุดในเดือนนี้เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2555 ที่ผ่านมา ที่สาธารณรัฐจอร์เจีย ก๊าซคลอรีนรั่วจากถังบรรจุของบริษัทประปาที่ กรุงทบิลิซิ ส่งผลให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บจากการสูดดมก๊าซและต้องนอนรักษาตัวที่โรงพยาบาล 73 คน • สำหรับประเทศไทยเหตุการณ์ก๊าซคลอรีนรั่วล่าสุดส่งผลให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บกว่า 300คน เกิดจากสูดดมก๊าซคลอรีนจากบริษัทอดิตยาเบอร์ล่า เคมิคัลส์ (ประเทศไทย) จำกัด ตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมเหมราช จ.ระยอง เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2555
สถิติการเกิดอุบัติภัยจากวัตถุเคมีของไทยจากปี พ.ศ. 2551 ถึง มีนาคม พ.ศ. 2555จำแนกตามประเภทวัตถุเคมี (ที่มาของข้อมูล: ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
สถิติการเกิดอุบัติภัยจากวัตถุเคมีของไทยจากปี พ.ศ. 2551 ถึง มีนาคม พ.ศ. 2555 จำแนกตามประเภทของกิจกรรม (ที่มาของข้อมูล: ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
ข้อมูลการสำรวจปริมาณการใช้และปริมาณสารเคมีที่กักเก็บในโรงงานอุตสาหกรรม 29 ประเภทของประเทศไทยเป็นรายจังหวัดในช่วงปี พ.ศ. 2545 – 2546 (ที่มา : หน่วยข้อสนเทศวัตถุอันตรายและความปลอดภัย ศูนย์วิจัยแห่งชาติด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย กรมโรงงานอุตสาหกรรม)
วัตถุเคมีหลักที่มีอันตรายต่อสุขภาพ เมื่อได้รับหรือสัมผัส • สารทางชีวภาพ (Biological Agents) • สารย้อมสี (Dyes) • โลหะ (Metals) • ฝุ่นแร่ต่างๆ (Mineral Dusts) • สารประกอบไนโตรเจน (Nitrogen Compounds) • สารเคมีกำจัดศัตรูพืช (Pesticides) • สารกัมมันตรังสี (Radiation Hazards) • พลาสติกหรือยาง (Plastics & Rubber) • สารเคมีที่ใช้เป็นตัวทำละลาย (Solvents) • แก๊สพิษ (Toxic Gases) Jay A. Brown ,2008. Haz-Map: Information on Hazardous Chemicals and Occupational Diseases (http://hazmap.nlm.nih.gov/)
สารเคมี: รูปแบบที่มีการใช้งาน • ของแข็ง ผง เกล็ด ผลึก • ของเหลว สารละลาย สารทำละลาย • ก๊าซ • เส้นใย
2R 1789 022808000 025345612 ป้ายและสัญลักษณ์ • DOT Placard • HAZCHEM • NFPA • EEC
สัญลักษณ์ความเป็นอันตรายของสารเคมีสัญลักษณ์ความเป็นอันตรายของสารเคมี 2 ระบบ 1. สัญลักษณ์ความปลอดภัยตามการใช้งาน ในสถานที่ทำงาน (Workplace) 2. สัญลักษณ์ความปลอดภัยสำหรับการขนส่ง (DGSymbol)
สัญลักษณ์ความเป็นอันตรายของสารเคมีสัญลักษณ์ความเป็นอันตรายของสารเคมี • การขนส่ง UN • การใช้งาน การติดฉลาก ต้องใช้ตามระบบการจำแนกและการสื่อสารความเป็นอันตรายของวัตถุอันตราย (GHS) (ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ลงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2555 )
การจำแนกประเภทสินค้าอันตราย (Dangerousgoods) ตามการขนส่ง 9 ประเภท
Fire Hazards Flash points 4 - < 23 o C 3 - < 38 o C 2 - < 93 o C 1 - > 93 o C 0 - will not burn Health Hazards 4 - Deadly 3 - Extreme danger 2 - Hazardous 1 - Slightly hazardous 0 - Normal material 4 2 3 W Specific hazardous Reactivity OXY oxidizer ACID Acid ALC Alkaline COR Corrosive W No water 4 - May detonate 3 - Shock & heat may detonate 2 - Violent chemical 1 - Unstable if heated 0 - Stable NFPA National Fire Protection Association
ระบบการจำแนกความเป็นอันตรายสารเคมี GHS : Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemical • ระบบการจำแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมี • เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก • จัดกลุ่มสารเคมีตามความเป็นอันตรายของสารเคมีที่เป็นส่วนประกอบ • กายภาพ สารออกซิไดซ์ (ให้ออกซิเจน อาจทำให้เกิดไฟไหม้ได้),สารไวไฟ,สารที่เป็นวัตถุระเบิด, • ก๊าซบรรจุภายใต้ความดัน อาจระเบิดได้เมื่อได้รับความร้อน • สุขภาพ ระวัง,สารมีฤทธิ์กัดกร่อนรุนแรง, สารมีอันตรายต่อสุขภาพ, สารเป็นอันตรายถึงเสียชีวิต • สิ่งแวดล้อม เป็นพิษร้ายแรงต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ
ประเภทสินค้าอันตราย (Dangerous goods) ตามการขนส่ง
การเข้าสู่ร่างกายของสารเคมี 3 ทาง 1. ทางปาก 2. ทางตา และผิวหนัง 3. การหายใจ
อันตรายของสารเคมี • อันตรายแบบเฉียบพลัน ระคายเคือง กัดกร่อน หมดสติ ฯลฯ • อันตรายแบบเรื้อรัง มีผลต่อระบบเลือด ตับ ไต สมอง ระบบประสาท กล้ามเนื้อ การก่อมะเร็ง การกลายพันธุ์ ฯลฯ • เกิดอัคคีภัยและการระเบิด • ก่อเหตุรำคาญ
ลักษณะความเป็นพิษของสารเคมี ลักษณะความเป็นพิษของสารเคมี • เกิดการเปลี่ยนแปลงกระบวนการเมตาบอลิซึม เช่น สารเคมีกำจัดศัตรูพืช • เกิดอันตรายต่อกระดูก เช่น ฟอสฟอรัส แคดเมียม • อันตรายต่อระบบการหายใจ เช่น ฝุ่น เส้นใย • ก่อมะเร็ง เช่น เบนซีนแอสเบสตอส • อันตรายต่อทารกในครรภ์ [การเกิดลูกวิรูป] เช่น ปรอท สารตัวทำละลาย • ผลต่อพันธุกรรมในคนรุ่นต่อไป [การก่อกลายพันธุ์ ] เช่น สารก่อมะเร็ง • เกิดอาการแพ้ การระคายเคือง
สาธารณภัย ระบบเตือนภัย (warning) ระบบเฝ้าระวัง (Watch)
ภัยธรรมชาติ • เกิดฉับพลัน • ป้องกันยาก • ทำงานเชิงรุกได้ รัฐบาล องค์กรนานาชาติ ฯลฯ สร้างระบบเตือนภัย ภัย บรรเทาและฟื้นฟู สึนามิ 26 ธ.ค. 47 ทุกภาคส่วน ป้องกัน ?? ..................... บรรเทา
ภัยจากมนุษย์ • เกิดฉับพลัน • เกิดแบบสะสม • ป้องกันได้ง่ายกว่า • ทำงานเชิงรุกได้มากกว่า ป้องกัน เฝ้าระวัง ป้องกัน (เชิงรุก) บรรเทา และ ฟื้นฟู ภัย ความพร้อมในการแก้ไข(แผนฉุกเฉิน) ป้องกัน บรรเทา
ระบบเฝ้าระวัง / เตือนภัย • หาร่องรอย / เบาะแส / ข้อมูล • ประเมินความเสี่ยง • เตือนหรือไม่ เฝ้าระวัง • เตือนอย่างไร • ใครเตือน • เตือนใคร เตือนภัย
ขั้นตอนของระบบเฝ้าระวังขั้นตอนของระบบเฝ้าระวัง • หาร่องรอย / เบาะแส / ข้อมูล • กลิ่น • เสียง • วัดด้วยเครื่องมือ • คุณภาพ • ปริมาณ • ตรง / อ้อม • พัฒนาตัวชี้วัด • ประเมินความเสี่ยง • ประชากรกลุ่มเสี่ยง • พื้นที่เสี่ยง • อื่นๆ • พยากรณ์เพื่อแจ้งการเตือนภัย
เป้าหมายของระบบเฝ้าระวังเป้าหมายของระบบเฝ้าระวัง • สามารถทำนาย วิเคราะห์ และจัดการเพื่อ ลดความเสี่ยงของอันตรายต่อ • สุขภาพ • สิ่งแวดล้อม • ทรัพย์สิน
ความเสี่ยง คืออะไร ต่างจาก อันตราย (สิ่งคุกคาม) อย่างไร
ความเสี่ยงคือ.... ความเสี่ยง = อันตราย (Hazard) และ การสัมผัส(Exposure) • เฉียบพลัน • กึ่งเรื้อรัง • เรื้อรัง อันตราย (Hazard) • ระยะเวลา • ปริมาณสัมผัส • ลักษณะการสัมผัส การสัมผัส (Exposure)
ปัจจัยจำเป็นสำหรับการเฝ้าระวังปัจจัยจำเป็นสำหรับการเฝ้าระวัง ข้อมูล อันตราย • เชิงคุณภาพ • เชิงปริมาณ การสัมผัส • ระยะเวลา • ปริมาณ • ลักษณะ หายาก หาง่าย
สาระสำคัญของข้อมูลสำหรับเฝ้าระวังภัยสารเคมีสาระสำคัญของข้อมูลสำหรับเฝ้าระวังภัยสารเคมี • เพียงพอ • ถูกต้อง เชื่อถือได้ • ต่อเนื่อง • เป็นระบบ • • ชื่อสารอันตราย / สิ่งคุกคาม (HAZARD) • • ข้อมูลอันตรายของสาร • • กายภาพ • • สุขภาพ • • สิ่งแวดล้อม • • ข้อมูลสำหรับวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง ปริมาณ - ผลิต - นำเข้า/ส่งออก - ใช้ - ครอบครอง การจัดการ - การผลิต - การขนส่ง - การจัดเก็บ - การทำลาย พื้นที่เสี่ยง - โรงงาน - นิคม ฯ - พื้นที่เกษตร - ? กลุ่มเสี่ยง - แรงงาน - เกษตรกร - ผู้บริโภค - ?
ศึกษาจากเอกสารกำกับสารเคมีที่บริษัทผู้ผลิต/ผู้จัดจำหน่ายให้มาศึกษาจากเอกสารกำกับสารเคมีที่บริษัทผู้ผลิต/ผู้จัดจำหน่ายให้มา • ค้นหาMaterial Safety Data Sheet (MSDS)จากแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง • แหล่งข้อมูลในประเทศ • กระทรวงสาธารณสุขอุตสาหกรรมเกษตรแรงงานกรม คพ. • ทบวงมหาวิทยาลัยสกว. บริษัทผู้ผลิต/ผู้จัดจำหน่ายฯลฯ • แหล่งข้อมูลต่างประเทศ • มหาวิทยาลัยต่างๆบริษัทผู้ผลิต/ผู้จัดจำหน่ายฯลฯ
การตรวจวัดด้วยเครื่องมือเชิงปริมาณการตรวจวัดด้วยเครื่องมือเชิงปริมาณ Monitoring of H2S, CO, O2, and Combustible Gas in Ambient Air Monitor with Diffusion and 4-gas Configuration, includes LEL/O2/CO/H2S sensors, NiMH battery pack,
อุบัติภัยสารเคมีกับงานสาธารณสุขอุบัติภัยสารเคมีกับงานสาธารณสุข
ขั้นตอนการ “รับมือ” อุบัติภัยสารเคมี - ดีที่สุด • คาดการณ์ • จัดทำและซ้อมแผน • แจ้งเหตุ • รับแจ้งเหตุ / กระจายข่าว • ระดมทีม • ทำตามหน้าที่ • สรุปผลและปรับปรุง • เฝ้าระวัง (เตือนภัย) • ป้องกันการซ้ำ / ใหม่