190 likes | 302 Views
โครงการพัฒนาและส่งเสริมระบบติดตาม การเปลี่ยนแปลงข้อมูลเพื่อสนับสนุนการจัดการ ไม้นอกเขตป่าในระดับตำบลอย่างยั่งยืน (PD 376/05 Rev.2 (F,M)). ความเป็นมา. PD 2/99 Rev.2 (F) โครงการศึกษาเพื่อจัดทำระบบ ติดตาม ตรวจสอบการจัดการทรัพยากร ป่าไม้แบบยั่งยืนสำหรับประเทศไทย
E N D
โครงการพัฒนาและส่งเสริมระบบติดตามโครงการพัฒนาและส่งเสริมระบบติดตาม การเปลี่ยนแปลงข้อมูลเพื่อสนับสนุนการจัดการ ไม้นอกเขตป่าในระดับตำบลอย่างยั่งยืน (PD 376/05 Rev.2 (F,M))
ความเป็นมา PD 2/99 Rev.2 (F) โครงการศึกษาเพื่อจัดทำระบบ ติดตาม ตรวจสอบการจัดการทรัพยากร ป่าไม้แบบยั่งยืนสำหรับประเทศไทย ระยะเวลาดำเนินการ 26 มกราคม 2543 – 25 มกราคม 2546 PD 195/03 Rev.2 (F) โครงการติดตั้งระบบติดตามการเปลี่ยนแปลงข้อมูลทรัพยากรป่าไม้ของชาติ เพื่อการอนุรักษ์ที่มีประสิทธิภาพและการจัดการอย่างยั่งยืน ระยะเวลาดำเนินการ 9 มิถุนายน 2547 – 8 มิถุนายน 2550
ความเป็นมา ที่มา : การจัดการทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ของภาครัฐ แนวคิด การจัดการไม้นอกเขตป่า โครงการฯ จะดำเนินการพัฒนาและส่งเสริมวิธีติดตั้งระบบติดตามข้อมูล เกี่ยวกับจำนวนตำแหน่ง และการเปลี่ยนแปลงของไม้นอกเขตป่า ในระดับตำบล ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะสามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับการวางแผนการพัฒนา และใช้ประโยชน์ ที่ดินได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ด้านการพัฒนาของโครงการฯ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาทรัพยากรป่าไม้นอกเขตป่าอย่างยั่งยืน ให้เกิดประโยชน์สูงสุดทั้งทางด้านวัฒนธรรมและด้านเศรษฐกิจสังคม ของชุมชนในพื้นที่ วัตถุประสงค์เฉพาะ เพื่อพัฒนาและส่งเสริมการติดตั้งระบบติดตามข้อมูลความหลากหลายและปริมาณของไม้นอกเขตป่า เพื่อใช้เป็นข้อมูลสนับสนุน การวางแผนการพัฒนาและใช้ประโยชน์ที่ดินระดับตำบล
กิจกรรมที่จะดำเนินการกิจกรรมที่จะดำเนินการ ดำเนินการพัฒนารูปแบบและการวางแปลงสำรวจ ทรัพยากรไม้ที่อยู่นอกเขตป่า ตลอดจนวิธีการเก็บข้อมูล ในแปลง โดยนำระบบภูมิสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ทั้งในการ เก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล แล้วจัดให้มีการประชุมสัมมนา เพื่อเผยแพร่วิธีการนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนจัดการ ทรัพยากรไม้นอกเขตป่า
แผนการดำเนินการ • ประชุมปรึกษากับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) เช่น ผู้นำระดับตำบล เจ้าหน้าที่สวนป่าเอกชน และเจ้าของพื้นที่ ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เพื่อหาคำนิยามของคำว่า “ไม้นอกเขตป่า” การจัดจำแนกประเภท (Stratification) ของ ไม้นอกเขตป่า • วางแผนและพัฒนาวิธีการสำรวจ และการติดตามการ เปลี่ยนแปลงของไม้นอกเขตป่า ในด้านมวลชีวภาพ (biomass) รวมถึงด้านความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity)
แผนการดำเนินการ • ประยุกต์ใช้ระบบฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศ เพื่อใช้ในการ สำรวจและติดตามการเปลี่ยนแปลงของไม้นอกเขตป่า เพื่อการใช้อย่างบูรณาการ • เลือกพื้นที่ตัวอย่างจำนวน 2 ตำบล เพื่อสนับสนุนการใช้ ระบบข้อมูลของการสำรวจและการติดตามไม้นอกเขตป่า เพื่อการจัดการอย่างยั่งยืน และเพื่อให้ทราบข้อมูล การใช้ ประโยชน์ และสภาวะทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของไม้ นอกเขตป่าในประเทศ
กรมป่าไม้ เจ้าของ พื้นที่ - คำนิยามของ “ไม้นอกเขตป่า” - เทคนิควิธีการสำรวจ - การใช้ประโยชน์และรูปแบบ - พื้นที่ตัวอย่าง การระดมความคิด ออป. กรมพัฒนาที่ดิน สถาบันการ ศึกษา กรมทรัพยากรทางทะเลฯ เจ้าหน้าที่สวนป่าเอกชน NGOs กรมอุทยานฯ อบต.
ประเด็นการพิจารณาของไม้นอกเขตป่าประเด็นการพิจารณาของไม้นอกเขตป่า • การกำหนดคำนิยาม • ระบบการจำแนก • หน่วยงานที่รับผิดชอบ • เจ้าของพื้นที่ • รูปแบบและความหลากหลาย • ความแตกต่างของคุณลักษณะด้านต่างๆ เช่น ชนิดพันธุ์ไม้ ความโต ความสูง เป็นต้น
Signed Contract RFD & ITTO & DNP 29 Jan 2008
ผู้ให้การสนับสนุนโครงการผู้ให้การสนับสนุนโครงการ International Tropical Timber Organization (ITTO) - Japan - Korea - Australia
ITTO 462,645 US$ ITTO 67,270 US$ (Monitoring, Evaluation &Administration) The 1 stYear 120,000 US$ The 2 nd Year160,000 US$ The 3 rd Year91,375 US$ Total395,375 US$
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. วิธีการสำรวจและติดตามการเปลี่ยนแปลงข้อมูลไม้นอกเขตป่า 2. เครื่องมือสำหรับใช้ในการบูรณาการข้อมูลทุติยภูมิ เช่น ข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจและสังคมกับข้อมูลด้านทรัพยากร ป่าไม้ เพื่อใช้ในการจัดการทรัพยากรของท้องถิ่น 3. แผนการรณรงค์ให้ผู้บริหารส่วนท้องถิ่นนำเครื่องมือ ดังกล่าวมาใช้
คำนิยามของไม้นอกเขตป่าคำนิยามของไม้นอกเขตป่า
ความหมาย ของ “ไม้นอกเขตป่า” “ไม้ยืนต้นและพืชอื่นๆ ที่อยู่นอกเขตป่า” ไม้ยืนต้น : พืชยืนต้นที่มีเนื้อไม้ เช่น ไม้ป่าไม้ผล เป็นต้น พืชอื่นๆ : พืชล้มลุก ไม้พุ่ม ไผ่ หวาย ปาล์ม กล้วยไม้ เป็นต้น ยกเว้นพืชไร่ พื้นที่นอกเขตป่า :พื้นที่ซึ่งบุคคลทั่วไปสามารถใช้ประโยชน์ไม้ยืนต้นและพืชอื่นๆ ได้ ตามกฎหมายหรือมติคณะรัฐมนตรี
ตัวอย่างพืช 1. ไม้ป่า และไม้ผล 2. ลูกไม้ และกล้าไม้ 3. ไม้ไผ่ และหวาย 4. ไม้ล้มลุก และไม้พุ่ม รวมทั้งไม้เลื้อย 5. กล้วยไม้
พื้นที่นอกเขตป่า 1. พื้นที่เกษตร 2. พื้นที่ที่ได้รับอนุญาตจากภาครัฐเพื่อใช้ประโยชน์ เช่น สทก. สปก. เป็นต้น 3. พื้นที่ป่าชุมชน 4. พื้นที่สาธารณะ 5. ที่ดินที่มีเอกสารสิทธิ์
ตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของ TROF 1. เนื้อไม้ (Timber) 2. อาหาร (Food) 3. พลังงาน (Energy) 4. ยา (Medicine) 5. นันทนาการ (Recreation) และการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) 6. วัฒนธรรม (Culture) 7. บริการด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental services) 8. ศาสนา (Religion) 9. อุตสาหกรรม (Industry)