1 / 51

การจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (สภาวะโลกร้อน)

การจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (สภาวะโลกร้อน). นายพิษณุ แสนประเสริฐ ผู้อำนวยการสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย. ขอบเขตการบรรยาย. ก๊าซเรือนกระจก,ภาวะโลกร้อนและผลกระทบ การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของไทยและผลกระทบในประเทศไทย อส ม.กับสภาวะโลกร้อน. ก๊าซเรือนกระจกและภาวะโลกร้อน.

rane
Download Presentation

การจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (สภาวะโลกร้อน)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ(สภาวะโลกร้อน)การจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ(สภาวะโลกร้อน) นายพิษณุ แสนประเสริฐ ผู้อำนวยการสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  2. ขอบเขตการบรรยาย • ก๊าซเรือนกระจก,ภาวะโลกร้อนและผลกระทบ • การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของไทยและผลกระทบในประเทศไทย • อสม.กับสภาวะโลกร้อน สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  3. ก๊าซเรือนกระจกและภาวะโลกร้อน สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  4. Long wave infrared (heat) Short wave (light) ชั้นบรรยากาศของโลก Atmosphere 1 2 3 4 ก๊าซเรือนกระจกและภาวะโลกร้อน ก่อให้เกิด ภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate change) Source: BBC (news.bbc.co.uk) IPCC (ipcc.ch) Point Carbon (pointcarbon.com) สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  5. “กิจกรรมของมนุษย์” เร่งเพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจก • การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ การตัดไม้ทำลายป่า ควันจากไอเสียรถยนต์ • ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ • ขยะ น้ำเสีย การปศุสัตว์ • ก๊าซมีเทน • กระบวนการทางอุตสาหกรรม • สารฮาโลคาร์บอน (CFCs, HFCs, PFCs) สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  6. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์คิดเป็นร้อยละ 77 ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของโลก และร้อยละ 61.4 เป็นการปล่อยจากภาคพลังงาน สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย ที่มา: World Resource Institute, 2000

  7. 100 ปีที่ผ่านมา อุณหภูมิเฉลี่ยโลกเพิ่มขึ้น 0.74 องศาเซลเซียส และปีที่ร้อนที่สุด 12 ปี ในช่วงปี พ.ศ. 2393-2549จำนวน 11 ปี เกิดระหว่าง พ.ศ.2538-2549 สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย ที่มา: IPCC, 2007

  8. ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  9. ผลกระทบจากการเพิ่มอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกผลกระทบจากการเพิ่มอุณหภูมิเฉลี่ยของโลก 1. น้ำแข็งขั้วโลก และหิมะบนยอดเขาละลาย 2. ผลกระทบต่อการเกษตร 3. ผลกระทบต่อทรัพยากรน้ำ 4. ผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ 5. ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 6. ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม 7. ผลกระทบต่อสุขภาพ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  10. 1. น้ำแข็งขั้วโลก และหิมะบนยอดเขาละลาย คาดว่าอีก 100 ปีข้างหน้า ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น 4 - 6 ม. หิมะบนยอดเขาคิลิมันจาโร ประเทศแทนซาเนีย พ.ศ. 2536 พ.ศ. 2543 สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  11. ขอบเขตแผ่นน้ำแข็งบริเวณทะเลอาร์กติก ในปี พ.ศ. 2522 ภูเขาน้ำแข็ง ทะเลน้ำแข็งแถบอาร์กติก และแผ่นน้ำแข็งแถบกรีนแลนด์ มีพื้นที่ที่เป็นน้ำแข็งลดน้อยลงมีผลทำให้ระดับน้ำทะเลเพิ่มขึ้นถึง 1.2-1.7 มิลลิเมตรต่อปี สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย ที่มา: NASA 2003

  12. ธารน้ำแข็ง Portage ที่อลาสกา บริเวณขั้วโลกเหนือ พ.ศ. 2537 พ.ศ.2547 สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย ที่มาภาพ : Gary Braasch

  13. พ.ศ. 2471 ธารน้ำแข็งประเทศนอร์เวย์ ธารน้ำแข็ง Upsala ประเทศอาร์เจนตินา พ.ศ. 2548 สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  14. ธารน้ำแข็ง QoriKalisประเทศเปรู พ.ศ.2521 พ.ศ. 2547 สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  15. เกาะกรีนแลนด์ ขั้วโลกเหนือ พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2545 น้ำแข็งเริ่มละลายจากบริเวณโดยรอบ โดยเฉพาะบริเวณที่สัมผัสกับน้ำทะเล สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย ที่มาภาพ : BBC, Gary Braasch

  16. 2. ผลกระทบต่อการเกษตร • ฝนไม่ตกตามฤดูกาล ภัยแล้ง น้ำท่วม • การรุกล้ำของน้ำเค็ม • การเปลี่ยนแปลงสภาพฝน มีผลต่อความชุ่มชื้นในดิน • เกิดโรคระบาดของแมลงศัตรูพืชและโรคพืช • ผลผลิตตกต่ำ หรือไม่ได้ผลเท่าที่ควร สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  17. พืชผลเกษตรเสียหายส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหารพืชผลเกษตรเสียหายส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหาร สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  18. 3. ผลกระทบต่อทรัพยากรน้ำ • มีฝนตกมากขึ้นบางพื้นที่ และลดลงในบางพื้นที่ ส่งผลต่อปริมาณน้ำผิวดิน ใต้ดิน และระบบนิเวศ • ปัญหาการขาดแคลนน้ำในหน้าแล้ง จะทวีความรุนแรง และนำไปสู่ความขัดแย้งของการจัดสรรน้ำที่รุนแรงขึ้น สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  19. ในช่วงปี พ.ศ. 2443-2548 ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยในพื้นที่แถบตะวันออกของอเมริกาเหนือและใต้ ยุโรปเหนือ เอเชียกลาง และเอเชียเหนือ เพิ่มขึ้น และพื้นที่ที่มีความแห้งแล้งเพิ่มขึ้น ได้แก่ บริเวณทุ่งซาเฮล ในแอฟริกาใต้ เขตเมดิเตอร์เรเนียน และเอเชียใต้ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย ที่มา: IPCC, 2007

  20. การคาดการณ์ความแห้งแล้งของโลก ระหว่าง พ.ศ. 2538 และ พ.ศ. 2568 พ.ศ. 2538 พ.ศ. 2568 สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  21. น้ำท่วมในบางพื้นที่ และแล้งในบางพื้นที่ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  22. 4. ผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ • หากอุณหภูมิเฉลี่ยโลก เพิ่มขึ้น 1o C พันธุ์ไม้ในป่าถึง 1 ใน 3 ของโลกสูญพันธุ์ และเกิดไฟป่าเพิ่มขึ้น • สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ จะเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบ และการกระจายตัว เพื่อตอบสนองต่อเงื่อนไขใหม่ • พื้นที่ชุ่มน้ำลดลง จากอัตราการระเหยที่เร็วขึ้น ส่งผลต่อแหล่งอาศัยของพืชและสัตว์ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  23. ความหลากหลายทางชีวภาพจะลดลงหากอุณหภูมิโลกสูงขึ้นความหลากหลายทางชีวภาพจะลดลงหากอุณหภูมิโลกสูงขึ้น

  24. 5. ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง • ระดับน้ำทะเลมีอัตราเพิ่มสูงขึ้นใน 100 ปีที่ผ่านมาระดับน้ำทะเลเฉลี่ยของโลก เพิ่มสูงขึ้นแล้ว 10 – 25 ซม. • การไหลเวียนของกระแสน้ำในมหาสมุทรสัตว์น้ำได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของกระแสน้ำ ซึ่งจะส่งผลต่อระบบนิเวศและการประมง • ระบบนิเวศชายฝั่งจะมีความเสี่ยงเช่น ป่าชายเลน หญ้าทะเล ปะการัง • ธุรกิจการท่องเที่ยว ซึ่งมีความสำคัญต่อวิถีชีวิตของชุมชนท้องถิ่น และเศรษฐกิจของประเทศ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย บริเวณหาดชะอำ จ.เพชรบุรี บริเวณสุสานหอย 75 ปี จ.กระบี่ อ่าวน้อย – อ่าวประจวบฯ – อ่าวมะนาว

  25. มูลค่าความเสียหายจากภัยธรรมชาติทั่วโลก ระหว่าง พ.ศ. 2493 - 2541 มูลค่าความเสียหาย (ปรับอัตราเงินเฟ้อแล้ว) มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ที่มา: IPCC, 2007 คลื่นความร้อนเกิดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและเกิดน้ำท่วมใหญ่ในทวีปเอเชียเพิ่มขึ้น 6 เท่า ระหว่างช่วง พ.ศ. 2493-2542 สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  26. ภัยธรรมชาติรุนแรง ส่งผลเสียหายต่อพืชสวนไร่นา และบ้านเรือนถิ่นฐานของประชาชน สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  27. 7. ผลกระทบต่อสุขภาพ • การระบาดของโรคติดต่อ เช่น โรคมาลาเรีย และไข้สมองอักเสบ จะรุนแรงและครอบคลุมเกือบทั่วโลก เนื่องจากอุณหภูมิที่อุ่นขึ้น ฝนตกมากขึ้น เป็นปัจจัยเหมาะสมสำหรับยุง แมลง ที่เป็นพาหะของโรค • ถ้าอุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้นอีก 1-3oCประชากรของโลกประมาณร้อยละ 45 จะอยู่อาศัยในพื้นที่ซึ่งเหมาะสมต่อการแพร่กระจายของโรคมาลาเรีย สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  28. 7. สุขภาพ (ต่อ) • เกิดโรคระบาดสายพันธุ์ใหม่ เช่น ซาร์ส ไข้หวัดนก เอดส์ อีโบล่า มาลาเรียสายพันธุ์ใหม่ • เกิดโรคระบาดอุบัติซ้ำ เช่น กาฬโรค ไข้ทรพิษ ไข้หวัดสเปน • อาจเกิดโรคระบาดอุบัติใหม่ ที่ติดต่อโดยการหายใจ ทำให้คนตายถึง 40-200 ล้านคนในอนาคต สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  29. การระบาดของโรคติดต่อชนิดใหม่ หรือ โรคติดต่อเก่าที่กลายพันธ์และกลับมาระบาดซ้ำในรอบ 2 ทศวรรษ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  30. ไข้เลือดออก มาเลเรีย ซาร์ส ไข้หวัดนก สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  31. การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของไทย สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  32. 344.2 ล้านตัน หน่วย (1000 ตัน) 56.1% 5.4% 24.1% 6.6% 7.8% 0.0% การใช้ที่ดินและป่าไม้ รวม ขยะ พลังงาน อุตสาหกรรม อื่นๆ เกษตร ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของไทย 2546 สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  33. ไทยปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ในช่วงปี พ.ศ. 2537-2546 และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง… พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2537 ที่มา: World Resource Institute, 2000 ที่มา: กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (พ.ศ. 2543) ที่มา: บริษัท อีอาร์เอ็ม-สยาม จำกัด (พ.ศ. 2548) สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  34. ในปี พ.ศ. 2546ภาคพลังงานของไทยมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากที่สุดถึงร้อยละ 56 รองลงมาคือภาคเกษตรกรรมร้อยละ 24 ที่มา: กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (พ.ศ. 2543) ที่มา: บริษัท อีอาร์เอ็ม-สยาม จำกัด (พ.ศ. 2548) สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  35. ไทยปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นอันดับที่ 31 ของโลก และเป็นอันดับ 4 ของอาเซียน ที่มา: World Resource Institute, 2000 *รวมก๊าซเรือนกระจกดังนี้: CO2 from Fossil Fuels, Cement and Land Use Change CH4, N2O, HFCs, PFCs, SF6 สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  36. ผลกระทบในประเทศไทย สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  37. หลังจากปี พ.ศ.2503 เป็นต้นมา ระดับน้ำทะเลมีอัตราเพิ่มสูงขึ้นประมาณ 20 มิลลิเมตรต่อปี คาดการณ์ว่าปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยต่อปีจะลดลงเหลือ 800-900มิลลิเมตร แต่มีความแตกต่างกันมากในแต่ละพื้นที่ อุณหภูมิเฉลี่ยของไทยสูงขึ้นประมาณ 1 องศาเซลเซียส ในช่วง 40 ปีที่ผ่านมา ที่มา: ดร.ธนวัฒน์จารุพงษ์สกุล ที่มา: ดร. นวรัตน์ ไกรพานนท์ และสุไชยา ดุลยาภรณ์ ที่มา: ดร. นิพนธ์ ตั้งธรรม สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  38. BKN 6624-46-2 ข้าว Satake & Yoshida (1978) and Horie (1993) Akihikari 100 N22 80 60 % ความสมบูรณ์ของเกสร 40 20 0 34 36 38 40 32 42 อุณหภูมิสูงสุด (°C) ภัยแล้งส่งผลกระทบต่อภาคการเกษตร อุณหภูมิที่สูงขึ้นส่งผลต่อการเจริญเติบโตของพันธุ์พืชเศรษฐกิจ ที่มา: J. Sheehy, IRRI สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  39. มูลค่าความเสียหายของผลผลิตการเกษตรของประเทศไทยเนืองจากภัยพิบัติที่สืบเนื่องจากภูมิอากาศ ระหว่าง พ.ศ. 2534-2543 Million Baht สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย ที่มา: ดร. กัณฑรีย์ บุญประกอบ

  40. การกัดเซาะชายฝั่งทวีความรุนแรงส่งผลต่อระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง การตั้งถิ่นฐานประชากร และอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ชายฝั่งบางขุนเทียน หลักเขต กทม. สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  41. การเกิดพายุรุนแรงและสภาพอากาศแปรปรวนบ่อยครั้งขึ้น สร้างความเสียหายต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  42. พื้นที่เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศตามแบบจำลองภูมิอากาศ UK 89 พื้นที่เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศตามแบบจำลองภูมิอากาศ UK 89 พื้นที่เสี่ยง อุทยานฯ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศป่าไม้ส่งผลต่อทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพ โดยหากอุณหภูมิเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส ทำให้ความหลากหลายทางชีวภาพลดลงร้อยละ 25-30 สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย ที่มา: ดร. กัณฑรีย์ บุญประกอบ

  43. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีผลต่อการแพร่กระจาย การเพาะเชื้อโรคและพาหะนำโรค • การระบาดของโรคติดต่อ เช่น โรคมาลาเรีย และไข้สมองอักเสบ จะรุนแรงและครอบคลุมเกือบทั่วโลก เนื่องจากอุณหภูมิที่อุ่นขึ้น ฝนตกมากขึ้น เป็นปัจจัยเหมาะสมสำหรับยุง แมลง ที่เป็นพาหะของโรค • ถ้าอุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้นอีก 1-3 องศาเซลเซียสประชากรของโลกประมาณร้อยละ 45 จะอยู่อาศัยในพื้นที่ซึ่งเหมาะสมต่อการแพร่กระจายของโรคมาลาเรีย สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  44. การดำเนินงานของ อสม.ต่อ สภาวะโลกร้อน สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  45. อสม.กับสภาวะโลกร้อน • ลดก๊าซเรือนกระจก • เพิ่มแหล่งดูดซับก๊าซเรือนกระจก • ป้องกันและบรรเทาความเสียหายของผลกระทบ • สร้างความสามารถในการปรับตัว • จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างจิตสำนึกในภาคประชาชน สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  46. อสม.กับสภาวะโลกร้อน • ลดก๊าซเรือนกระจก • ส่งเสริมการประหยัดพลังงานเชื้อเพลิง น้ำมัน ไฟฟ้า • โครงการส่งเสริมผักพื้นบ้าน อาหารพื้นเมือง • ใช้พลังงานทดแทน เช่น พลังงานชีวภาพ(Bio-Gas) พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานชีวมวล(Biomass) • หลักการ 3 Rs (Reduce Reuse Recycle) การคัดแยกขยะ • ลดปริมาณของเสียตั้งแต่แหล่งกำเนิด • นำบรรจุภัณฑ์กลับมาใช้ใหม่ เช่น ขวดแก้ว บรรจุภัณฑ์ต่างๆ • นำของเสียไปแปรรูปให้เกิดประโยชน์ เช่น Bio-Gas ปุ๋ยอินทรีย์จากสิ่งปฏิกูล • ลดการเผาขยะในที่โล่ง • ส่งเสริมการอุปโภค บริโภค ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  47. อสม.กับสภาวะโลกร้อน • เพิ่มแหล่งดูดซับก๊าซเรือนกระจก • ส่งเสริมการอนุรักษ์ ฟื้นฟูและเพิ่มพื้นที่ป่า ป่าชายเลน • ส่งเสริมการใช้ไม้อย่างประหยัดและใช้วัสดุทดแทน • ส่งเสริมการปลูกป่าทดแทน โดยใช้หลัก “ป่าสามอย่าง(ไม้กิน ไม้ก่อสร้าง ไม้ใช้สอย) ประโยชน์สี่อย่าง(กินได้ ก่อสร้าง ใช้สอย อนุรักษ์) • ส่งเสริมให้มีพื้นที่สีเขียวในทุกระดับ • ส่งเสริมการปลูกต้นไม้ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  48. อสม.กับสภาวะโลกร้อน • ป้องกันและบรรเทาความเสียหายของผลกระทบ • ฟื้นฟูพื้นที่ป่า แหล่งน้ำ ป่าชายเลน ชายฝั่งทะเลและดิน ที่เสื่อมโทรมเพื่อรักษาสมดุลของระบบนิเวศและความหลายหลายทางชีวภาพ • หยุดยั้งการทำลายพื้นที่ป่าและป้องกันไฟป่า • หยุดและยับยั้งการแพร่กระจายของชนิดพันธ์ต่างถิ่น(พืช สัตว์ แมลง) • ปลูกหญ้าแฝกคลุมดินเพื่อเพิ่มความชุ่มชื้นในดินและลดการชะล้างหน้าดิน สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  49. อสม.กับสภาวะโลกร้อน • ป้องกันและบรรเทาความเสียหายของผลกระทบ • มีการจัดการน้ำเสียจากครัวเรือน • ลดการใช้สารเคมีในภาคเกษตรกรรม ในครัวเรือน เพื่อลดการปล่อยมลพิษและสารปนเปื้อนสู่ทรัพยากรธรรมชาติ • มีแผนป้องกันและบรรเทาความเสียหายจากภัยพิบัติในพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดภัยพิบัติประเภทต่างๆ • ส่งเสริมการปลูกป่าเป็นแนวกันชนเพื่อป้องกันภัยธรรมชาติ • ไม่ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ที่ตัดไม้ทำลายป่า สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

  50. อสม.กับสภาวะโลกร้อน • สร้างความสามารถในการปรับตัว • อนุรักษ์และเพิ่มพื้นที่ป่าสำคัญเช่น ป่าต้นน้ำ • บริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำและอนุรักษ์น้ำ • บริหารจัดการการใช้น้ำในครัวเรือนอย่างมีประสิทธิภาพ • ปรับเปลี่ยนกระบวนการทางเกษตร ให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและลดการพึ่งพาทรัพยากรที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเช่นแหล่งน้ำ ปริมาณน้ำฝน เป็นต้น • ดำรงชีพตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรกรรมยั่งยืน สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

More Related