1 / 22

เงินทดรองราชการ

เงินทดรองราชการ. ความหมาย. เป็นเงินที่กระทรวงการคลังจ่ายและอนุญาตให้ ส่วนราชการมีไว้ตามจำนวนที่เห็นสมควร เพื่อทดรองจ่าย เป็นค่าใช้จ่ายตามระเบียบหรือข้อบังคับของกระทรวงการคลัง. เงินทดรองราชการ.

Download Presentation

เงินทดรองราชการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เงินทดรองราชการ

  2. ความหมาย • เป็นเงินที่กระทรวงการคลังจ่ายและอนุญาตให้ ส่วนราชการมีไว้ตามจำนวนที่เห็นสมควร เพื่อทดรองจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายตามระเบียบหรือข้อบังคับของกระทรวงการคลัง

  3. เงินทดรองราชการ • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อทดรองเป็นค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติราชการของเจ้าหน้าที่เข้าร่วมกองกำลังนานาชาติในติมอร์ตะวันออก พ.ศ. 2542 • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการ พ.ศ. 2547 • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือ คนไทยในต่างประเทศ พ.ศ. 2549 • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการของส่วนราชการในต่างประเทศ พ.ศ. 2550

  4. เงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน

  5. วัตถุประสงค์ของเงินทดรองราชการวัตถุประสงค์ของเงินทดรองราชการ • เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนเฉพาะหน้าแก่ผู้ประสบภัย ในกรณีเกิดภัยพิบัติฉุกเฉิน • มิได้มุ่งหมายที่จะชดใช้ความเสียหายให้แก่ผู้ใด

  6. หลักการใช้จ่ายเงินทดรองราชการหลักการใช้จ่ายเงินทดรองราชการ • ภัยพิบัติเกิดขึ้น • ไม่มีเงินงบประมาณในการช่วยเหลือ • การให้ความช่วยเหลือเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด • เมื่อใช้แล้วต้องจัดหาเงินงบประมาณมาชดใช้คืน

  7. ภัยพิบัติ ผวจ.แต่งตั้ง ก.ช.ภ.อ/กอ. อำนาจหน้าที่ ผวจ.จัดสรรวงเงินทดรองราชการ ให้อำเภอไม่ต่ำกว่า 500,000/ครั้ง/ภัย จังหวัด ผวจ.ประกาศภัย ก.ช.ภ.อ/กอ. ประชุมพิจารณาให้ความช่วยเหลือลือ ประกาศภัยพิบัติ ผวจ.แต่งตั้ง ก.ช.ภ.จ. อำนาจหน้าที่ กทม. อธิบดี ปภ. ประกาศภัย กรณีเกินอำนาจอนุมัติที่ได้รับจัดสรร ก.ช.ภ.จ. ประชุมพิจารณาให้ความช่วยเหลือ การให้ความช่วยเหลือด้านสังคมสงเคราะห์ อนุมัติโดย ปลัดกระทรวง พม. กรณีอยู่ในอำนาจอนุมัติตามวงเงินที่ได้รับจัดสรร ผวจ.อนุมัติและอาจมอบ ส่วนราชการต่าง ๆ การให้ความช่วยเหลือด้านการเกษตร อนุมัติโดย ปลัดกระทรวง กษ. นายอำเภอ/หน.กิ่งอำเภอ 1. อนุมัติตาม ก.ช.ภ.อ./กอ. 2. ยืมเงินทดรองราชการ การให้ความช่วยเหลือด้านการแพทย์ อนุมัติโดย ปลัดกระทรวง สธ. ให้ความช่วยเหลือด้านอื่น ๆ อนุมัติโดย อธิบดี ปภ. กรมบัญชีกลาง อนุมัติเบิกเงินทดรองราชการ สนง.ปภ.จังหวัด คลังจังหวัด อนุมัติเบิกเงินทดรองราชการ

  8. วิธีปฏิบัติในการใช้เงินทดรองราชการวิธีปฏิบัติในการใช้เงินทดรองราชการ ๏ ต้องมีการประกาศภัยพิบัติ 1. ผู้มีอำนาจประกาศ :- - กรุงเทพฯ : อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - จังหวัด : ผู้ว่าราชการจังหวัด 2. การประกาศภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินให้มีรายการดังนี้ :- - ประเภทของภัย - พื้นที่ที่เกิดภัยพิบัติ - วัน เดือน ปี ที่เกิดและสิ้นสุดภัย - เวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดของการให้ความช่วยเหลือ ต้องไม่เกิน 3 เดือนนับแต่วันที่เกิดภัย

  9. วิธีปฏิบัติในการใช้เงินทดรองราชการ (ต่อ) การเตรียมการในวันหยุดราชการของส่วนภูมิภาค :- • มีเหตุอันควรคาดหมายได้ว่าจะเกิดภัยพิบัติ • มีความจำเป็นต้องเตรียมเงินสดไว้ • ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจเบิกเงินทดรองเพื่อสำรองจ่ายได้ตามความเหมาะสมจำเป็น • เมื่อภัยพิบัติสิ้นสุดลงให้นำเงินที่เหลือส่งคืนคลัง

  10. หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ ส่วนราชการที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการช่วยเหลือผู้ประสบภัย:- ๏ ส่วนกลาง (กรุงเทพมหานคร) - ด้านการช่วยเหลือผู้ประสบภัย : กรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย - ด้านการแพทย์และการสาธารณสุข :สธ. - ด้านสังคมสงเคราะห์และฟื้นฟูผู้ประสบภัย :พม. - ด้านการเกษตร :กษ.

  11. หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ (ต่อ) ๏ ส่วนภูมิภาค - อำเภอ/กิ่งอำเภอ โดยนายอำเภอ/ปลัดอำเภอหัวหน้ากิ่งอำเภอ - จังหวัด โดยผู้ว่าราชการจังหวัด ๏ การให้ความช่วยเหลือเป็นไปตามมติคณะกรรมการ ดังนี้ :- - คณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติอำเภอ หรือ คณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกิ่งอำเภอ - คณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติจังหวัด

  12. วงเงินทดรองราชการ • สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี 100 ล้านบาท • สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ 10 ล้านบาท • สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 50 ล้านบาท • สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงกลาโหม 50 ล้านบาท • สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงมหาดไทย 50 ล้านบาท • สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข 10 ล้านบาท • กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 50 ล้านบาท • สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด แห่งละ 50 ล้านบาท

  13. การขยายวงเงินทดรองราชการการขยายวงเงินทดรองราชการ ๏รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังมีอำนาจอนุมัติ - ขยายวงเงินทดรอง - ให้ส่วนราชการอื่นมีวงเงินทดรอง

  14. หลักเกณฑ์การช่วยเหลือหลักเกณฑ์การช่วยเหลือ • ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และอัตราที่กระทรวง การคลังกำหนด • กรณีจำเป็นต้องจ่ายนอกเหนือหลักเกณฑ์ ต้องได้รับ อนุมัติจากกระทรวงการคลังก่อน

  15. การชดใช้คืนเงินทดรองราชการการชดใช้คืนเงินทดรองราชการ • หลัก - เมื่อจ่ายไปแล้วให้รีบดำเนินการชดใช้คืนโดยเร็ว • ข้อยกเว้น - เกิดภัยพิบัติฉุกเฉินในเดือนสิงหาคม - กันยายน - ได้จ่ายเงินทดรองไปแล้ว - ไม่สามารถจัดงบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้คืนในปีงบประมาณ ได้ทัน

  16. เงินทดรองราชการ(สำนักงาน)เงินทดรองราชการ(สำนักงาน)

  17. หลักเกณฑ์การอนุมัติวงเงินทดรองราชการหลักเกณฑ์การอนุมัติวงเงินทดรองราชการ 1. กรณีส่วนราชการที่เป็นหน่วยเบิกจ่ายใหม่ : จะพิจารณาโดยเทียบเคียงกับหน่วยงานที่มีลักษณะงานและภารกิจในการปฏิบัติงานเหมือนกัน

  18. หลักเกณฑ์การอนุมัติวงเงินทดรองราชการ (ต่อ) 2. กรณีส่วนราชการขอเพิ่มวงเงินทดรองราชการ: 2.1 หากมีการใช้จ่ายเงินเฉลี่ยย้อนหลัง 6 เดือน ต่ำกว่าหรือเท่ากับวงเงินที่ได้รับอนุมัติไว้เดิม และมีการเบิกเงินงบประมาณชดใช้เงินทดรองราชการ ดังนี้ (1) 1 ครั้งต่อเดือน ให้มีวงเงินทดรองราชการเท่าเดิม (2) มากกว่า 1 ครั้งต่อเดือน จะพิจารณาเพิ่มวงเงินทดรอง ราชการให้

  19. หลักเกณฑ์การอนุมัติวงเงินทดรองราชการ (ต่อ) 2.2 หากส่วนราชการมีการใช้จ่ายเงินเฉลี่ยย้อนหลัง 6 เดือนสูงกว่าวงเงินที่ได้รับอนุมัติไว้เดิม และมีการเบิกเงินงบประมาณชดใช้เงินทดรองราชการ ดังนี้ (1) 1 - 2 ครั้งต่อเดือน จะพิจารณาเพิ่มวงเงินทดรองราชการให้ (2) น้อยกว่า 1 ครั้งต่อเดือน ให้มีวงเงินทดรองราชการจำนวนเท่าเดิม และการเพิ่มวงเงินทดรองราชการทุกกรณี จะอนุมัติเพิ่มให้ตาม จำนวนผลต่างที่คำนวณได้ทั้งนี้ ไม่เกินวงเงินที่ขอตกลง

  20. หลักเกณฑ์การอนุมัติวงเงินทดรองราชการ (ต่อ) 3. การอนุญาตให้เก็บรักษาเงินทดรองราชการไว้ ณ ที่ทำการ เกินกว่าที่กำหนดไว้ในระเบียบฯ - จะพิจารณาจากสถิติการใช้จ่ายเงินย้อนหลัง 6 เดือน - หากมีการใช้จ่ายเฉลี่ยแต่ละเดือน : (1) สูงกว่าวงเงินที่ขออนุญาตเก็บรักษาฯ จะพิจารณาให้ตามที่ขอ (2) ถ้าใช้จ่ายต่ำกว่าวงเงินที่ขออนุญาตเก็บรักษาฯ จะพิจารณาตาม ความจำเป็น (ดูจากระยะทางระหว่างหน่วยงานกับธนาคาร)

  21. การใช้จ่ายเงินทดรองราชการการใช้จ่ายเงินทดรองราชการ ให้มีไว้เพื่อทดรองใช้จ่ายตามงบประมาณรายจ่าย ดังนี้ 1. งบบุคลากรเฉพาะค่าจ้างซึ่งไม่มีกำหนดจ่ายเป็นงวดแน่นอน 2. งบดำเนินงาน ยกเว้น ค่าไฟฟ้าและค่าน้ำประปา 3. งบกลางเฉพาะที่จ่ายเป็นเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของ บุตรและการรักษาพยาบาล 4. งบอื่นที่จ่ายในลักษณะเช่นเดียวกับ (1) หรือ (2)

  22. ขอบคุณ สำนักกฎหมาย โทรศัพท์ 0-2273-9024 ต่อ 4320 , 6329 โทรสาร 0-2273-9609

More Related