1 / 26

การเรียนรู้ด้วยโครงงาน Project-based Learning สะพานเชื่อมช่องว่างระหว่างการศึกษาและเทคโนโลยี

การเรียนรู้ด้วยโครงงาน Project-based Learning สะพานเชื่อมช่องว่างระหว่างการศึกษาและเทคโนโลยี. ห้องแห่งการเรียนรู้ด้วยโครงงานคืออะไร. ห้องแห่งการเรียนรู้ด้วยโครงงาน คือ SMART Students (นักเรียน) – ประสบความสำเร็จ Motivation (แรงจูงใจ) – อย่างแท้จริงและมีพลัง

ramona
Download Presentation

การเรียนรู้ด้วยโครงงาน Project-based Learning สะพานเชื่อมช่องว่างระหว่างการศึกษาและเทคโนโลยี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเรียนรู้ด้วยโครงงานProject-based Learningสะพานเชื่อมช่องว่างระหว่างการศึกษาและเทคโนโลยี

  2. ห้องแห่งการเรียนรู้ด้วยโครงงานคืออะไรห้องแห่งการเรียนรู้ด้วยโครงงานคืออะไร ห้องแห่งการเรียนรู้ด้วยโครงงาน คือSMART Students (นักเรียน) – ประสบความสำเร็จ Motivation (แรงจูงใจ) – อย่างแท้จริงและมีพลัง Autonomy (อิสระ) – การเรียนรู้อย่างเป็นอิสระ Reflective ( สะท้อนการคิดอย่างไตร่ตรอง) – ห้องเรียนที่ใช้การคิดเป็นศูนย์กลาง Teacher (ครู) - การสอนด้วยเทคโนโลยี

  3. ห้องแห่งการเรียนรู้ด้วยโครงงานคืออะไรห้องแห่งการเรียนรู้ด้วยโครงงานคืออะไร • การเรียนรู้ย้ายจากบทเรียนที่มีครูเป็นผู้สอน สู่การเรียนรู้ด้วยกิจกรรมซึ่ง • มีระยะเวลาดำเนินการ เช่น อย่างน้อยหนึ่งสัปดาห์ • สหวิทยาการ • นักเรียน – เป็นศูนย์กลาง และ • เชื่อมโยงกับประเด็นหรือปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง

  4. ทำไมต้องเรียนรู้ด้วยโครงงานทำไมต้องเรียนรู้ด้วยโครงงาน • เพื่อปรับปรุงการเรียนรู้ของนักเรียน • เพื่อแปลงสิ่งที่ได้จากการสอน • เพื่อเตรียมโอกาสให้นักเรียนไปต่อยอดในสิ่งที่สนใจ • เพื่อให้นักเรียนได้ตัดสินใจ • เพื่อช่วยนักเรียนในการบูรณาการเนื้อหาไปสู่ * การใช้สมอง ประยุกต์สิ่งที่เรียนรู้ไปสู่การเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นสำหรับศตวรรษที่ ๒๑

  5. รายละเอียดของห้องแห่งการเรียนรู้ด้วยโครงงานรายละเอียดของห้องแห่งการเรียนรู้ด้วยโครงงาน • มีปัญหาซึ่งยังไม่มีคำตอบที่ชัดเจน • มีสภาพแวดล้อมซึ่งมีข้อบกพร่องหรือการเปลี่ยนแปลง • นักเรียนตัดสินใจโดยมีการกำหนดกรอบช่วยคิด • นักเรียนออกแบบกระบวนการเพื่อให้ได้วิธีแก้ปัญหา • นักเรียนมีโอกาสที่จะแสดงออกในการทำกิจกรรม • การประเมินผลเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง • ชิ้นงานสุดท้ายสะท้อนผลลัพธ์ และเป็นการประเมินเชิงคุณภาพ

  6. ครูในห้องแห่งการเรียนรู้ด้วยโครงงานครูในห้องแห่งการเรียนรู้ด้วยโครงงาน • เป็นเพียงผู้ชี้แนะ • เป็นผู้เรียนร่วมกับนักเรียน • ยอมให้ข้อผิดพลาดเกิดขึ้นได้ • ช่วยพัฒนาทีมงาน • กระตุ้นครูท่านอื่น ๆ

  7. คุณลักษณะของการเรียนรู้โดยผ่านโครงงานคุณลักษณะของการเรียนรู้โดยผ่านโครงงาน • กระตุ้น • ทักษะกระบวนการกลุ่ม • ทักษะชีวิต • ทักษะทางเทคโนโลยี • ทักษะกระบวนการ • ทักษะการบริหารจัดการด้วยตนเอง • ทัศนคติเชิงบวก

  8. นักเรียนจะเปลี่ยน... • จากทำตามคำสั่ง เป็นทำกิจกรรมด้วยตนเอง • จากการท่องจำและทำซ้ำ ๆ เป็นการค้นพบ, รวบรวมและนำเสนอ • จากการฟังและโต้ตอบ เป็น การสื่อสารและรับผิดชอบ • จากความรู้ระดับข้อเท็จจริง, เนื้อหา, นิยาม เป็น เข้าใจในกระบวนการ • จากทฤษฎี เป็นการประยุกต์ใช้ทฤษฎี • จากการพึ่งครูผู้สอน เป็นการสร้างความรู้เอง

  9. ยกระดับโครงงานโดย.... ก่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง • โครงงานเกิดขึ้นจากประเด็นหรือปัญหาที่มีความหมายกับผู้เรียนใช่หรือไม่ • ผู้เรียนสร้างชิ้นงานซึ่งมีประโยชน์ต่อตัวเองและหรือต่อสังคมนอกจากสภาพแวดล้อมในชั้นเรียนใช่หรือไม่

  10. ยกระดับโครงงานโดย.... เพิ่มความเข้มแข็งทางวิชาการ • โครงงานช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้และประยุกต์ใช้ความรู้นั้นใช่หรือไม่ • โครงงานนั้นท้าทายนักเรียนให้ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ใช่หรือไม่ • นักเรียนได้พัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงใช่หรือไม่

  11. ยกระดับโครงงานโดย.... เน้นการเรียนรู้เชิงประยุกต์ • การเรียนรู้เกิดขึ้นในบริบทของปัญหาในชีวิตจริงนอกเหนือจากห้องเรียนใช่หรือไม่ • โครงงานกระตุ้นนักเรียนให้เกิดความรู้และใช้ความสามารถที่คาดหวังในหลักสูตรใช่หรือไม่ • งานที่ให้นักเรียนทำช่วยพัฒนาทักษะการบริหารตนเองและการจัดองค์กรใช่หรือไม่

  12. ยกระดับโครงงานโดย.... กระตุ้นให้เกิดการค้นคว้าอย่างกระตือรือร้น • นักเรียนจะใช้เวลาในการทำงานภาคสนามใช่หรือไม่ • โครงงานกระตุ้นให้นักเรียนสืบค้นโดยใช้วิธีการ, สื่อต่าง ๆ และแหล่งความรู้ที่หลากหลายใช่หรือไม่ • คาดหวังว่านักเรียนจะทำการติดต่อสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้โดยผ่านทางการนำเสนอและหรือการปฏิบัติงานจริงใช่หรือไม่

  13. ยกระดับโครงงานโดย.... สร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้ใหญ่ • ผู้เรียนมีโอกาสที่จะทำงานอย่างใกล้ชิดอย่างน้อยกับผู้ใหญ่ ๑ ท่านใช่หรือไม่ • ผู้ใหญ่มีส่วนร่วมในการสร้างแบบประเมินชิ้นงานของนักเรียนใช่หรือไม่ • นักเรียนได้สังเกตผู้ใหญ่ที่มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในด้านที่เกี่ยวข้องใช่หรือไม่

  14. ยกระดับโครงงานโดย.... สร้างการประเมินตามสภาพจริง • นักเรียนสะท้อนการเรียนรู้โดยใช้เกณฑ์ที่ร่วมกำหนดอย่างชัดเจนของโครงงานโดยสม่ำเสมอใช่หรือไม่ • จะมีโอกาสในการประเมินชิ้นงานของนักเรียนโดยใช้วิธีต่าง ๆ รวมทั้งการจัดนิทรรศการและแฟ้มสะสมผลงานอย่างสม่ำเสมอ

  15. สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ - ประถมปลาย • เป้าหมาย: เข้าใจประเภทต่าง ๆ ของมลภาวะทางสภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้น • คำถามสร้างพลังคิด: โลกของเราอุดมสมบูรณ์หรือไม่ • โครงงาน: นักเรียนจะสวมบทบาทสมมติเป็นนักสิ่งแวดล้อมและทำวิจัยปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในชุมชน โดยจะนำเสนอในรูปวีดีทัศน์, มัลติมีเดีย, แผ่นพับ และอื่น ๆ เพื่อชี้ให้เห็นปัญหา และเสนอแผนเพื่อแก้ปัญหานั้น

  16. สาระการเรียนรู้ชีววิทยา - มัธยมศึกษา • เป้าหมาย: ศึกษาระบบของสิ่งมีชีวิต เพื่อพัฒนาอาหารชนิดใหม่ • คำถามสร้างพลังคิด: ฉันสามารถสร้างความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ได้หรือไม่ • โครงงาน: นักเรียนจะสร้างวัฒนธรรมที่หลากหลาย, ประเมินผลิตภัณฑ์อาหารที่มีอยู่ และพัฒนาแผนการตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์อาหารใหม่ที่จะทำ

  17. สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ – เกรด ๔ (ช่วงชั้นที่ ๒) • เป้าหมาย: เข้าใจว่าหินเกิดขึ้นได้อย่างไร, เรียนรู้เกี่ยวกับแหล่งที่มาของหิน, คุณสมบัติและส่วนประกอบทางแร่ธาตุของหินที่ใช้เป็นวัสดุในการก่อสร้าง • คำถามสร้างพลังคิด: ก้อนหินที่อยู่ในมือของฉันจะใช้ประโยชน์อย่างไรในชีวิต • โครงงาน: นักเรียนจะสวมบทบาทสมมติเป็นนักธรณีวิทยาในการวางผังเมือง เพื่อศึกษาว่า วัตถุดิบในท้องถิ่นชนิดใดที่นักวางแผนอาจจะใช้ในการทำถนน, อาคาร, ทางเดินและโครงสร้างอื่น ๆ

  18. สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - มัธยมศึกษา • เป้าหมาย: เข้าใจว่าจะนำคณิตศาสตร์มาใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร • คำถามสร้างพลังคิด: ทำอย่างไรให้ได้สิ่งที่ต้องการ • โครงงาน: นักเรียนจะทำวิจัยอาชีพต่าง ๆ พร้อมระบุเงินเดือนที่ได้รับ, เลือกบ้านที่ต้องการ, ประมาณตัวเลขการซื้อขาย, กำหนดงบประมาณค่าใช้จ่าย, กำหนดขนาดบ้าน, ดูแลสมุดบัญชี และค่าตกแต่งบ้าน, ระบุเวลา, กำหนดขนาดของบ้านแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ในการพัฒนาชุมชน

  19. สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ - มัธยมศึกษา • เป้าหมาย: ใช้ทักษะการโต้เถียง และการคิดอย่างสร้างสรรค์ • คำถามสร้างพลังคิด: เราพูดในสิ่งที่เราอยากพูด และหมายความอย่างนั้นทุกครั้งใช่หรือไม่ • โครงงาน: นักเรียนจะสวมหลากหลายบทบาทของกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชนหรือเป็นสมาชิกที่เข้าร่วมประชุมในหัวข้อที่ถกเถียงกันในชุมชน

  20. สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - ประถมปลาย/มัธยมต้น • เป้าหมาย: เข้าใจการทำงานของตลาดหุ้นและผลกระทบต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • คำถามสร้างพลังคิด: ควรลงทุนเงินอย่างไร • โครงงาน: นักเรียนจะตั้งบริษัท และสวมบทบาทสมมติเป็นผู้ลงทุนและหรือผู้เล่นหุ้น และวางแผนการลงทุนและติดตามการลงทุนนั้นเป็นเวลา ๑ ปี

  21. สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ - ประถมปลาย • เป้าหมาย: เข้าใจปรากฎการณ์ทางอากาศที่แตกต่างกันตามที่ต่าง ๆ กันในโลก • คำถามสร้างพลังคิด: เรากลัวอะไร • โครงงาน: นักเรียนจะสวมบทบาทสมมติเป็นนักพยากรณ์อากาศ อธิบายปรากฎการณ์ทางอากาศที่แตกต่างกันในที่ต่าง ๆ ของโลก และวางแผนเพื่อความปลอดภัยจากปรากฎการณ์ดังกล่าว

  22. สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - ประถม • เป้าหมาย: เข้าใจหลักการทางเศรษฐศาสตร์อย่างง่าย ๆ • คำถามสร้างพลังคิด: ใครเป็นเจ้าของ และทำไม • โครงงาน: นักเรียนจะตั้งร้านค้าปลีกอย่างง่าย ๆ ขึ้นภายในโรงเรียน ร่วมกันวางแผนว่าจะขายอะไร, ในราคาเท่าไร, ผลิตสินค้านั้น, วางแผนเพื่อจำหน่ายและควบคุมรายรับรายจ่าย

  23. การอ่าน - ระดับประถม • เป้าหมาย: เข้าใจองค์ประกอบ, หน้าที่, บทบาท และส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการแสดงละคร • คำถามสร้างพลังคิด: ทำไมเราต้องแสดง • โครงงาน: นักเรียนจะแปลและดัดแปลงเรื่อง/นิทานที่อ่านเป็นบทละคร และแสดงละครให้นักเรียนคนอื่น ๆ ในโรงเรียนชม

  24. การท่องเที่ยว: ระดับประถมถึงมัธยมศึกษา

  25. แหล่งข้อมูล • Friedman, P.D. & William, J.D. (1988). Hyperlearning. New York: Stenhouse Publishers. • Trowbridge, L.W. & Bybee, R.W. (1906). Teaching Secondary School Science. New Jersey: Prentice Hall • Vermillion, R.E. (1991). Projects andInvestigations. New York: Macmillan Publishing Co.

  26. Online Resources • http://www.ericfacility.net/ericdigests/ed368509.html • http://www.uoregon.edu/moursund/Math/pbl.htm • http://www.jordan.paloalto.ca.us/students/connections/pbl/pblplan.html • http://eduscapes.com/tap/topic43.htm • http://pblmm.k12.ca.us/PBLGuide/PBL&PL.htm • http://www.iste.org/research/roadahead/pbl.htm • http://www.glef.org/PBL/whypbl.htm • http://college.hmco/education/pbl/background.html • http://www.bie.org • http://www.mcdenver.com/useguide/pbl.htm • http://www.cord.org.lev2.cfm/56

More Related