1 / 70

การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา และมาตรการเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกัน และควบคุมโรค

การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา และมาตรการเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกัน และควบคุมโรค. กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. Ebola Virus Inflicts Deadly Toll on African Health Workers by Africa News. Life after Ebola has new meaning for two survivors now helping others.

Download Presentation

การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา และมาตรการเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกัน และควบคุมโรค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาและมาตรการเฝ้าระวัง สอบสวนป้องกัน และควบคุมโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  2. Ebola Virus Inflicts Deadly Toll on African Health Workers by Africa News Life after Ebola has new meaning for two survivors now helping others

  3. จำนวนผู้ป่วยEBVที่ได้รับรายงานจาก WHOณ วันที่ 26สิงหาคม 2557

  4. สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา วันที่ 24 – 25 สิงหาคม 2557

  5. Confirmed Ebola in DR Congo DR Congo (Zaire) - Pop 65.7 million - Area 2,345,000 km2 Equateur province – 750 miles from capital - pop dens. 19 km2

  6. Confirmed Ebola in DR Congo • Equateur province เป็นที่แรกในโลกที่มีรายงานอีโบลา ในปี 1976 โดยตั้งชื่อจาก Ebola river • การระบาดในครั้งนี้พบผู้ป่วยเสียชีวิต 13 ราย • HCWs 4 ราย • Confirmed Ebola 2 ราย • 1 test identified Sudan ebolavirus • 1 test mixed Sudan-Zaire ebolavirus • DR Congo มีการระบาดก่อนหน้านี้ในปี 2012 พบผู้ป่วย 77 คน ตาย 36 คน สาเหตุจากสายพันธุ์ BDBV

  7. สถานการณ์ในประเทศไนจีเรียสถานการณ์ในประเทศไนจีเรีย ผู้ป่วยสะสม ณ 22 สิงหาคม 2557 • Total 16 cases (14 confirmed 5 deaths และ 2 suspected) • ผู้ป่วยยืนยัน 2 รายใหม่เป็น secondary contact สามีและภรรยาติดเชื้อจากผู้ดูแลผู้ป่วยรายแรก มาตรการที่สำคัญ • เมือง Lagos เพิ่มมาตรการคัดกรองอุณหภูมิของผู้เดินทาง จากเดิมที่คัดกรองแต่ผู้โดยสารขาเข้า เพิ่มการคัดกรองทั้งผู้โดยสารขาเข้าและขาออกในทุกเส้นทางการบิน ทั้งนี้ได้รับการสนับสนุน Thermoscan และ hand held thermometer จากสหรัฐอเมริกา

  8. ข่าวอื่นๆ ที่สำคัญ • UKนำอาสาสมัครที่ติดเชื้อจาก Sierra Leone กลับประเทศแล้ว • WHOรายงาน เจ้าหน้าที่ชาว Senegal ของ GOARN ติดเชื้อใน Sierra Leone • Kenyaห้ามคนสัญชาติ Guinea, Sierra Leone, Liberia เข้าประเทศ • Dakar, Senegal ไม่อนุญาตให้เครื่องบินของ UN humanitarian air service ที่บินจากสามประเทศระบาดลงจอดแล้ว • ญี่ปุ่น ยินดีจะส่งยา Flavipiravir ไปยัง West Africa

  9. Distribution of EVD cases in Guinea, Sierra Leone, Liberia by week of reporting, December 2013 - 1 August 2014

  10. Distribution of EVD cases in Guinea, Sierra Leone, Liberia and Nigeria by week of reporting, December 2013 – 6 August 2014 All country ในช่วง 4 สัปดาห์ล่าสุดพบผู้ป่วยถึง 815 ราย (46% ของทั้งหมด)

  11. Distribution of EVD cases in Guinea, Sierra Leone, Liberia and Nigeria by week of reporting, December 2013 – 6 August 2014 Guinea Sierra Leone Liberia Nigeria source: http://www.cdc.gov/ source: www.ecdc.europa.eu/

  12. แผนที่แสดงการขยายตัวของพื้นที่ระบาดใน 3 ประเทศแถบอาฟริกาตะวันตก วันที่ 20 ก.ค. 57 วันที่ 7 ส.ค. 57 ขณะนี้การระบาดครอบคลุมทุกเมืองของเซียร่าลีโอน และเข้าสู่เมืองหลวงของทั้ง 3 ประเทศ

  13. การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขการติดเชื้อของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข • นับถึงวันที่ 11 สิงหาคม มีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขติดเชื้อแล้วมากกว่า 170 คน และเสียชีวิตแล้วกว่า 81 คน (http://www.who.int/csr/disease/ebola/overview-august-2014/en/) • ในประเทศไนจีเรียมีผู้สัมผัสนาย Patrick Sawyer จำนวน 59 คน (เป็นเจ้าหน้าที่สนามบิน 15 คน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข 44 คน) ในจำนวนนี้มีผู้ติดเชื้อแล้ว 12 คน • ผู้ที่มีความเสี่ยงสูงสุด: ผู้ดูแลผู้ป่วยใกล้ชิด

  14. EBOLA virus disease 1. Virus reservoir : Fruit bats The virus maintains itself in fruit bats. The bats spread the virus during migration. Fruit bats of the Pteropodidae family are considered to be the natural host of the Ebola virus. 4. Secondary transmission 2. Epizootic in primates 3. Primary human infection Infected fruit bats enter in direct or indirect contact with other animals and pass on the infection, sometimes causing large-scale epidemics in gorillas, chimpanzees and other monkeys or mammals (e.g. forest antelopes). Humans are infected either through direct contact with infected bats (rare event), or through handling infected dead or sick animals found in the forest (more frequent) Secondary human-to-human transmission occurs through direct contact with the blood, secretions, organs or other body fluids of infected persons. High transmission risk when providing direct patient care or handling dead bodies (funerals).

  15. 2010

  16. สถานการณ์การป่วยและการดำเนินการในต่างประเทศในสัปดาห์ที่ผ่านมา (1) องค์การอนามัยโลก • ประกาศให้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาในอาฟริกาตะวันตกเป็นภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ (PHEIC) • ประเทศที่มีการระบาด: ออกคำแนะนำให้มีการจำกัดการเดินทางของผู้ป่วยอีโบลาหรือผู้สัมผัส การคัดกรองผู้โดยสารขาออก จัดระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินในระดับสูงสุด เพิ่มความพร้อมของอุปกรณ์ในการดูแลรักษา การวินิจฉัย และลดกิจกรรมการรวมตัวของคนหมู่มาก • ประเทศที่มีความเสี่ยงสูงและประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศที่มีการระบาด: ให้มีการเตรียมการเฝ้าระวัง การจัดระบบตรวจทางห้องปฏิบัติการ การควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อและการสอบสวนควบคุมโรค • ประเทศอื่นๆ: ไม่มีการห้ามเดินทางหรือการค้า แต่ให้เตรียมความพร้อมในด้านต่างๆที่เกี่ยวข้อง

  17. สถานการณ์การป่วยและการดำเนินการในต่างประเทศในสัปดาห์ที่ผ่านมา (2) องค์การอนามัยโลก(ต่อ) • ในวันจันทร์ที่ 11 สิงหาคม 2557 คณะผู้เชี่ยวชาญด้านจริยธรรมการวิจัย ขององค์การอนามัยโลก มีความเห็นว่า “ในสถานการณ์ที่มีการระบาดขณะนี้ การใช้ยาหรือวิธีการรักษาที่ยังไม่ได้รับการพิสูจน์ประสิทธิผลหรือความปลอดภัยเป็นเรื่องที่เป็นไปตามหลักจริยธรรม หากนำมาใช้ภายใต้หลักการที่เหมาะสม” • Options: • Zmapp– Mapp Biopharmaceutical, Inc. • Favipiravir - Fujifilm Holdings Corp. • TKM-Ebola - Tekmira Pharmaceuticals • AVI-7537 – SareptaTherapeutics • BCX4430 - BiocrystPharmaceuticals • ST-383 - SigaTechnologies.

  18. มาตรการเพิ่มเติมขององค์การอนามัยโลกมาตรการเพิ่มเติมขององค์การอนามัยโลก • WHO ประกาศให้ประเทศเคนย่าเป็นประเทศที่เสี่ยงสูง • ประเทศเคนย่า อยู่ในแอฟริกาตะวันออก แต่เป็นศูนย์กลางของการบินโดยมีเที่ยวบิน 76 เที่ยวต่อสัปดาห์มาลงที่ประเทศเคนย่า

  19. การขนย้ายแพทย์ที่ติดเชื้อไวรัส Ebolaกลับมารักษาที่สหรัฐฯ

  20. สถานการณ์การป่วยและการดำเนินการในต่างประเทศในสัปดาห์ที่ผ่านมา (4) ห้องผู้ป่วย: ให้ผู้ป่วยพักในห้องแยก มีห้องน้ำในตัว จำกัดและบันทึกผู้เข้าห้องผู้ป่วยอุปกรณ์ป้องกัน : เจ้าหน้าที่ควรสวมใส่ถุงมือ กาวกันน้ำ พลาสติกคลุมรองเท้า แว่นหรือพลาสติกป้องกันใบหน้า และหน้ากากป้องกันโรค และอาจพิจารณาสวมใส่อุปกรณ์อื่นๆ ตามความเหมาะสมกับสถานการณ์ การทำหัตถการที่ก่อให้เกิดละอองฝอย: ให้หลีกเลี่ยงหัตถการที่ก่อให้เกิดละอองฝอย หากจำเป็นให้ดำเนินการในห้องแยก การติดเชื้อทางอากาศ และใสหน้ากากป้องกัน ที่เหมาะสม (N95 หรือสูงกว่า) การทำความสะอาดห้องและสิ่งแวดล้อม:

  21. ลักษณะห้องแยกสำหรับอาสาสมัครบุคลากรทางการแพทย์ที่ติดเชื้ออีโบลา ใน Emory Hospital

  22. บทสรุปสำหรับอีโบลาก็คือเรารู้ว่าจะหยุดมันอย่างไรการสาธารณสุขแบบดั้งเดิมค้นหาผู้ป่วย แยกผู้ป่วย ดูแลรักษาผู้ป่วยติดตามผู้สัมผัส ให้ความรู้ประชาชน และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลอย่างเคร่งครัดทำสิ่งเหล่านี้อย่างพิถีพิถันละเอียดลออ แล้วอีโบลาจะหมดไป นพ. โธมัส ฟรีเด็นผอ.ศูนย์ป้องกันควบคุมโรคแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา

  23. มาตรการควบคุมโรคของไทย • การคัดกรองผู้เดินทางจากประเทศที่มีการระบาดที่สนามบิน • การให้คำแนะนำกับผู้เดินทาง • การติดตามสอบถามอาการผู้เดินทางเป็นเวลา 21 วัน นับจากวันที่เดินทางออกจากประเทศที่มีการระบาด • การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับระบบป้องกันโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล รวมถึงการเตรียมอุปกรณ์ป้องกันสำหรับเจ้าหน้าที่ • การจัดระบบให้มีการตรวจจับผู้ป่วยได้อย่างรวดเร็วที่โรงพยาบาล และลดจำนวนผู้สัมผัส • การสอบสวนควบคุมผู้สัมผัส

  24. มาตรการควบคุมโรคของไทย (2) • กระทรวงการต่างประเทศ ได้มีคำเตือนประชาชนไทยให้หลีกเลี่ยงการเดินทางเข้าไปยังประเทศที่เกิดโรค หากจำเป็นต้องเดินทางไปให้ลงทะเบียนการเดินทางตามมาตรการของกระทรวงการต่างประเทศ • กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เฝ้าระวังสัตว์ที่มาจากอาฟริกา ไม่พบมีการนำสัตว์เข้ามายังประเทศไทย • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ชะลอการนำเข้าสินค้าตามกฎหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์จากประเทศที่มีรายงานการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา และมีการควบคุมการนำเข้าทั้งทาง ท่าอากาศยาน ท่าเรือ และชายแดน • กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ให้ความรู้เรื่องอีโบลา แก่ อสม. เพื่อสื่อสารกับประชาชน สื่อสาร

  25. แผ่นพับประชาสัมพันธ์ EBV

  26. มาตรการควบคุมโรคของไทย (3) • การดูแลรักษาและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล • สถานพยาบาลเตรียมห้องแยกผู้ป่วยในทุกจังหวัด โดยเฉพาะโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และให้ปฏิบัติตามหลักการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลเหมือนผู้ป่วยโรคติดต่ออันตรายสูง เช่น โรคซาร์ส อย่างเคร่งครัด • การรักษาผู้ป่วยตามแนวทางการวินิจฉัย ดูแลรักษา และควบคุมป้องกันการติดเชื้อที่กรมการแพทย์กำหนด และให้คำปรึกษาแก่แพทย์ พยาบาลในการรักษาตลอด 24 ชั่วโมง • สถาบันบำราศนราดูรได้จัดทำคำแนะนำการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไวรัสอีโบลา การรับและส่งต่อผู้ป่วยโรคติดต่อร้ายแรง สำหรับบุคลากรและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่เกี่ยวข้อง

  27. มาตรการควบคุมโรคของไทย (4) • การตรวจทางห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ร่วมกับหน่วยงานทั่วประเทศกำลังพิจารณาแนวทางการส่งวินิจฉัยให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล • การบริหารจัดการ • กรมควบคุมโรคเปิดศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทุกวัน • กระทรวงสาธารณสุขเปิดศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินบูรณาการ การทำงานของทุกหน่วยงานและสั่งการไปยังหน่วยปฏิบัติทั่วประเทศ

  28. การเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาในผู้เดินทางจากพื้นที่ระบาด 25 สิงหาคม 2557 • จำนวนผู้เดินทางที่ผ่านการคัดกรอง 30 ราย - สุวรรณภูมิ 29 ราย เชียงใหม่ 1 รายไม่พบผู้มีอาการป่วย - เป็นผู้ที่เดินทางออกจากประเทศที่มีการระบาดในช่วง 21 วัน 18 ราย • จำนวนผู้เดินทางที่ผ่านการคัดกรองสะสม (8 มิ.ย. - 24 ส.ค. 57) 798ราย - กินี 393 ราย ไลบีเรีย 56 ราย เซียร์ราลีโอน 37 ราย ไนจีเรีย 308 อื่นๆ 4 ราย

  29. ผลการติดตามผู้เดินทางที่มาจากพื้นที่เสี่ยง วันที่ 31 ก.ค. ถึง 24 ส.ค. 2557 จำนวนผู้เดินทางเข้าข่ายเฝ้าระวัง 21 วัน ณ 24 ส.ค. 57 จำนวน 196 คน ติดตามไม่ได้ - ข้อมูลไม่เพียงพอ 20/196(10.2%) - ไม่ใช่ที่อยู่จริง 30/196(15.3%) กำลังดำเนินการ 25/196(12.8%) ติดตามได้แล้ว 121/196(61.7%) จบการติดตาม (ครบกำหนด/เดินทางกลับแล้ว ไม่ได้มาจากพื้นที่เสี่ยง) 36/121(29.8%) • ข้อมูลไม่เป็นปัจจุบัน 49/121(40.5%) • วันสุดท้ายที่ติดตามได้เกิน 2 วันมาแล้ว • ไม่ต้องการให้ติดตาม ตัดสายทิ้ง • ย้ายไปแล้ว ไม่ทราบที่อยู่ใหม่ อาการปกติ 36/121(29.8%)

  30. นิยามเฝ้าระวัง ผู้ป่วยโรคติดเชื้ออีโบลา ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวน (PUI: patient under investigation) • ผู้ที่มีอาการไข้ตั้งแต่ 38 องศาเซลเซียสขึ้นไป ร่วมกับ มีประวัติสัมผัสโรคในช่วง 21 วันก่อนเริ่มป่วย ข้อใดข้อหนึ่ง ต่อไปนี้ - อาศัยอยู่ หรือ เดินทางมาจากประเทศที่เกิดโรค (ณ ปัจจุบัน ได้แก่ กินี ไลบีเรีย เซียราลีโอน และเมืองลากอส ไนจีเรีย) - สัมผัสผู้ป่วยหรือศพของผู้ป่วยที่สงสัยติดเชื้ออีโบลา - สัมผัสโดยตรงกับสัตว์จำพวกค้างคาว หนู ลิง สัตว์ป่าเท้ากีบที่มาจากฃ พื้นที่เกิดโรค

  31. นิยามเฝ้าระวัง ผู้ป่วยโรคติดเชื้ออีโบลา ผู้ป่วยสงสัย (suspect case) ได้แก่ ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวน ที่มีอาการเลือดออกผิดปกติ / อาการแย่ลงเร็ว (severe and rapid progressive) / เสียชีวิต โดยไม่ทราบสาเหตุอื่นๆ ที่ชัดเจน ผู้ป่วยน่าจะเป็น (probable case) ได้แก่ ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวน ที่มีประวัติสัมผัสผู้ป่วยหรือศพของผู้ป่วยที่ยืนยัน/น่าจะเป็นผู้ติดเชื้ออีโบลา

  32. นิยามเฝ้าระวัง ผู้ป่วยโรคติดเชื้ออีโบลา ผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) • ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนที่มีผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบหลักฐานการติดเชื้อไวรัสอีโบลา ด้วยวิธี - Ebola Realtime RT-PCR ให้ผลบวก หรือ - การตรวจด้วยวิธี ELISA พบ Ebola IgMให้ผลบวก หรือ - สามารถแยกเชื้อไวรัสอีโบลา (viral isolation)

  33. นิยามเฝ้าระวัง ผู้ป่วยโรคติดเชื้ออีโบลา ตัดออกจากการเป็นผู้ป่วย (discarded) • ผู้ป่วยที่มีผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ไม่พบหลักฐานการติดเชื้อไวรัสอีโบลา อย่างน้อย 2 ครั้ง จากการตรวจด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง หรือทั้งสองวิธี ได้แก่ - Ebola Real-time RT-PCR ให้ผลบวก - การตรวจด้วยวิธี ELISA พบ Ebola IgMให้ผลบวก โดยหากเป็นการตรวจด้วยวิธีเดียวกัน ต้องเป็นตัวอย่างส่งตรวจที่เก็บคนละครั้งกัน หรือตรวจด้วยห้องปฏิบัติการที่ต่างหน่วยงานกัน

  34. ให้ใช้แบบบันทึกนี้สำหรับบันทึกข้อมูลให้ใช้แบบบันทึกนี้สำหรับบันทึกข้อมูล ผู้ป่วยส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการฯ ด้วย

  35. คำถาม? • เมื่อได้รับแจ้งผู้ป่วยอื่นๆ ที่ไม่เข้าเกณฑ์สอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา ควรปฎิบัติอย่างไร

  36. กรณีรับแจ้งผู้ป่วยที่ไม่เข้าเกณฑ์สอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา • ทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ที่แจ้งผู้ป่วยมา ถึงนิยามผู้ป่วย ข้อจำกัดในการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อหาการติดเชื้อไวรัสอีโบลา • หากเจ้าหน้าที่ยืนยันถึงความเสี่ยงและความสงสัยว่าผู้ป่วยจะติดเชื้อไวรัสอีโบลา เช่น แพทย์ผู้ดูแลรักษาเห็นว่าอาการและอาการแสดงเข้าได้ • ให้ SRRT แจ้งผู้ตัดสินใจได้ เพื่อร่วมกันประเมินความเสี่ยงและตัดสินใจว่าจะดำเนินการเหมือนกรณีผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนโรคหรือไม่ • สามารถปรึกษาแพทย์หัวหน้าเวรอีโบลาในแต่ละสัปดาห์ของสำนักระบาดวิทยา ได้แก่ พญ.พจมาน พญ.ดารินทร์ และนพ.จักรรัฐ

  37. คำถาม? • การตรวจสอบข่าวผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาทำอย่างไรบ้าง เมื่อได้รับแจ้งผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวน / สงสัย / เข้าข่าย โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา • กรณีได้รับแจ้งจากด่านควบคุมโรคระหว่างประเทศ • กรณีได้รับแจ้งผู้ป่วยจากสถานพยาบาล • กรณีได้รับแจ้งจากทีม SRRT ว่าพบผู้ป่วยในขุมชน • การค้นหาและติดตามผู้สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วย เป็นอย่างไร

  38. นิยามผู้สัมผัสโรค • ผู้สัมผัสผู้ป่วยโรค Ebola หมายถึง ผู้ที่สัมผัสกับผู้ป่วยโรค Ebola ด้วยกรณีต่อไปนี้อย่างน้อยหนึ่งกรณี ภายใน 21 วันก่อนมีอาการป่วย • อาศัยอยู่ในบ้านเดียวกับผู้ป่วย • ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดและสัมผัสกับเลือดหรือสารคัดหลั่งจากร่างกายผู้ป่วยหรือเสื้อผ้าของผู้ป่วย • สัมผัสกับร่างผู้เสียชีวิตขณะจัดการศพหรือระหว่างงานศพ • ทารกที่ดูดนมมารดาที่ป่วยด้วยโรค Ebola

  39. นิยามผู้สัมผัสโรค • ผู้สัมผัสสัตว์ป่วยหรือตาย หมายถึง ผู้ที่สัมผัสกับสัตว์ป่วยหรือตายด้วยกรณีต่อไปนี้อย่างน้อยหนึ่งกรณี ภายใน 21 วันก่อนมีอาการป่วย • สัมผัสกับสัตว์ป่วยหรือตาย (โดยเฉพาะ ลิง แอนติโลปป่า สัตว์กีบคู่อยู่ในวงศ์วัวและควาย หนู และค้างคาว) • สัมผัสกับเลือดหรือสารคัดหลั่งจากร่างกายของสัตว์ป่วยหรือตาย • ชำแหละสัตว์ตาย • รับประทานเนื้อสัตว์ป่าดิบ

  40. นิยามผู้สัมผัสโรค • ผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการตรวจหาเชื้อก่อโรค หมายถึง ผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการตรวจหาเชื้อก่อโรค และได้สัมผัสตัวอย่าง ส่งตรวจจากผู้ป่วย/สัตว์ป่วยสงสัยโรค Ebola ภายใน 21 วันก่อนมี อาการป่วย • ระดับความเสี่ยงของการสัมผัส ได้แก่ • เสี่ยงสูง (high risk), • เสี่ยงต่ำ (low risk), และ • ไม่มีความเสี่ยงที่ชัดเจน (no known risk) โดย US CDC วันที่ 8 สิงหาคม 2557

  41. แนวทางการติดตามผู้สัมผัสโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา ประเทศไทย • กรณีพบผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวน / สงสัย / เข้าข่าย ที่เดินทางมากับเที่ยวบินระหว่างประเทศ แบ่งเป็น • High risk ได้แก่ • ผู้โดยสารและลูกเรือที่มีการสัมผัสโดยตรงกับผู้ป่วย • ผู้โดยสารที่นั่งติดกันกับผู้ป่วย มีที่นั่งถัดจากผู้ป่วย 1 ที่นั่งในทุกทิศทาง • ลูกเรือที่ให้บริการผู้ป่วย และ • พนักงานอื่นๆ ที่มีโอกาสสัมผัสโดยตรงกับผู้ป่วยหรือสารคัดหลั่งจากผู้ป่วย เช่น พนักงานทำความสะอาดห้องน้ำ ห้องโดยสารในเครื่องบิน • Low riskได้แก่ ผู้โดยสาร ลูกเรือ ผู้สัมผัสที่สนามบิน กรณีอื่นๆ ที่ไม่เข้าเกณฑ์ของ high risk

  42. การติดตามผู้สัมผัสในสถานพยาบาล/ชุมชนการติดตามผู้สัมผัสในสถานพยาบาล/ชุมชน • บันทึกผู้สัมผัส (บุคลากรทางการแพทย์ที่ไม่ได้สวมชุดป้องกัน/สวมและมีการปนเปื้อน) ให้ติดตามวัดไข้ผู้สัมผัสเป็นเวลา 21 วันหลังการสัมผัสผู้ป่วยครั้งสุดท้าย • สัมภาษณ์ข้อมูลทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับผู้ป่วย และผู้สัมผัสรายอื่นๆ ตั้งแต่เริ่มมีอาการ และลักษณะการสัมผัสในแต่ละราย • ในรายที่มีอาการ ส่งต่อไปโรงพยาบาลเพื่อให้แพทย์ประเมินอาการ รวมทั้งการพิจารณาให้นอนโรงพยาบาล (เก็บตัวอย่างส่งตรวจที่โรงพยาบาล) • ในรายที่ไม่มีอาการ แยกผู้สัมผัสเป็นกลุ่มเสี่ยงสูงและเสี่ยงต่ำ เพื่อดำเนินการตามแนวทางของแต่ละกลุ่ม

  43. แบบสอบสวนผู้ป่วยสงสัยติดเชื้ออีโบลาแบบสอบสวนผู้ป่วยสงสัยติดเชื้ออีโบลา

  44. แบบสอบสวนผู้สัมผัส

  45. การป้องกันตนเองขณะค้นหา/ติดตามผู้สัมผัสการป้องกันตนเองขณะค้นหา/ติดตามผู้สัมผัส • ฝึกสวมชุดป้องกันสำหรับการสอบสวนโรคในโรงพยาบาล และในชุมชน • ประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ จากผู้สัมผัสที่มีไข้ ก่อนเข้าพื้นที่ • เน้นให้ติดต่อผู้สัมผัสทางโทรศัพท์ก่อน • คัดแยกผู้สัมผัสที่มีไข้ และ ดำเนินการแบ่งเขตพื้นที่ปฏิบัติงาน

  46. การป้องกันตนเองขณะค้นหา/ติดตามผู้สัมผัสการป้องกันตนเองขณะค้นหา/ติดตามผู้สัมผัส • เขตที่ 1 สวมชุดป้องกัน (ก่อนปฏิบัติงาน) • เขตที่ 2 ถอดชุดป้องกัน (หลังปฏิบัติงาน) • เขตที่ 3 คัดกรองผู้สัมผัส • เขตที่ 4 เสี่ยงติดเชื้อ สำหรับคัดแยกผู้สัมผัสที่มีไข้ พร้อมส่งโรงพยาบาลเพื่อตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม • เขตที่ 5 ซักประวัติผู้สัมผัสที่ไม่มีไข้ และบันทึกเพื่อติดตาม • เขตที่ 6 พัก/ทำลายขยะติดเชื้อ และสิ่งปฏิกูลในพื้นที่สอบสวนและบริเวณที่ผู้สัมผัสอาศัย

  47. จุดเก็บอุปกรณ์ที่ใช้แล้ว/จุดเก็บอุปกรณ์ที่ใช้แล้ว/ แช่น้ำยา ผู้สัมผัส หลังเสร็จสิ้น คัดกรองเบื้องต้น โดยแผ่นวัดไข้ Semi contamination area Contaminated area Clean area ถาดน้ำยาฆ่าเชื้อรองเท้า ยานพาหนะ ติดตั้ง UV light มีไข้ IC Nurse ไม่มีไข้ ผู้ป่วยที่มีไข้ (PUI) พื้นที่สัมภาษณ์ ยาพาหนะ ขนขยะ และอุปกรณ์ใช้แล้ว สัมภาษณ์เพิ่ม เก็บตัวอย่าง ส่งทำลายขยะติดเชื้อตามที่ประสานไว้ก่อน

More Related