1 / 20

Powerpoint Templates

การดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมการพัฒนาชุมชน ***** สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕. นายวิฑูรย์ นวลนุกุล ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน. Powerpoint Templates. ตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๕.

Download Presentation

Powerpoint Templates

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมการพัฒนาชุมชน ***** สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ นายวิฑูรย์ นวลนุกุล ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน Powerpoint Templates

  2. ตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ตัวชี้วัดที่ ๔.๒ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน มีค่าน้ำหนัก ร้อยละ ๗

  3. ตัวชี้วัด ๔.๒ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน กลุ่มเป้าหมาย -กลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่ลงทะเบียนผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP ปี พ.ศ. 2553 จำนวน ๔,๔๒๗ กลุ่ม (ตามที่กรมฯ จัดสรรให้จังหวัด) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ - การปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์/ด้านบรรจุภัณฑ์/ด้านรูปแบบผลิตภัณฑ์/ด้านลักษณะของผลิตภัณฑ์/ด้านภูมิปัญญาและการพัฒนาเรื่องราวของผลิตภัณฑ์ ให้ผลิตภัณฑ์มีมูลค่าเพิ่ม มีโอกาสทางการตลาดมากขึ้น โดยการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นและเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์และได้รับการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์จาก KBO จังหวัด การบรรลุเป้าหมาย -ผลิตภัณฑ์กลุ่มเป้าหมาย จำนวน ๔,๔๒๗ กลุ่ม ผ่านการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จาก KBO จังหวัด ร้อยละ ๖๒.๕ (จำนวน ๒,๗๖๗ กลุ่ม) -มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของกลุ่มเป้าหมาย จำนวน ๔,๔๒๗ กลุ่ม เพิ่มขึ้นมากกว่าค่าเฉลี่ยการเพิ่มขึ้นของมูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทั้งประเทศ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕

  4. ค่า A หมายถึง ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP ทั้งประเทศ ค่า B หมายถึง ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมาย การหามูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ B – A ≥๕ มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์OTOP ทั้งจังหวัดปี ๒๕๕๕ – มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์OTOP ทั้งจังหวัด ปี ๒๕๕๔ มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP ทั้งจังหวัด ปี ๒๕๕๔ มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เข้าสู่การพัฒนาฯปี๒๕๕๕–มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เข้าสู่การพัฒนาฯปี ๒๕๕๔ มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เข้าสู่การพัฒนาฯปี ๒๕๕๔

  5. เกณฑ์การให้คะแนน (Milestone) ๕ คะแนน มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการพัฒนาของกลุ่มเป้าหมาย ๔,๔๒๗ กลุ่ม เพิ่มขึ้น มากกว่าค่าเฉลี่ยการเพิ่มขึ้นของมูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทั้งประเทศไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕ ๔คะแนน ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มเป้าหมายผ่านการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์จาก KBO จังหวัด ร้อยละ ๖๒.๕ (๒,๗๖๗ กลุ่ม) ๓ คะแนน ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มเป้าหมายผ่านการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์จาก KBO จังหวัด ร้อยละ ๖๐ (๒,๖๕๖ กลุ่ม) ๒ คะแนน กลุ่มเป้าหมายมีแผนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม จำนวน ๔,๔๒๗ กลุ่ม ๑ คะแนน กำหนดกลุ่มเป้าหมายที่มีความต้องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของแต่ละจังหวัด จำนวน ๔,๔๒๗ กลุ่ม

  6. ปี ๒๕๕๔ ปี ๒๕๕๓ ผลการดำเนินงาน คะแนน ๕ มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ ๑๗.๘๔ คะแนน ๕ มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ ๒๐.๒ คะแนน ๔KBO จังหวัดรับรองการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ร้อยละ ๕๐.๘๒ (๒,๑๖๐ กลุ่ม) คะแนน ๔KBO จังหวัดรับรองการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ร้อยละ ๕๙.๗๒ (๒,๖๔๔ กลุ่ม) คะแนน ๓KBO จังหวัดรับรองการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ร้อยละ ๓๕ (๑,๔๘๘ กลุ่ม) คะแนน ๓KBO จังหวัดรับรองการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ร้อยละ ๕๐ (๒,๒๑๔ กลุ่ม) คะแนน ๒ กลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายมีแผนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม ๔,๒๕๐ กลุ่ม คะแนน ๒ กลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายมีแผนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม ๔,๔๒๗ กลุ่ม คะแนน ๑ กำหนดกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายมีความต้องการด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม ๔,๒๕๐ กลุ่ม คะแนน ๑ กำหนดกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายมีความต้องการด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม ๔,๔๒๗ กลุ่ม

  7. เปรียบเทียบตัวชี้วัด ปี ๒๕๕๔ และ ๒๕๕๕

  8. ข้อสังเกตุจากการตรวจประเมินจาก TRIS • แบบสรุปความต้องการของกลุ่มด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์(แบบรายงานที่ ๒)ไม่ชัดเจน แบบแผนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผู้ผลิตชุมชน (แบบรายงานที่ 3) ไม่ชัดเจน

  9. แบบสรุปความต้องการของกลุ่มด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์แบบสรุปความต้องการของกลุ่มด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ตัวชี้วัดที่ 4.2 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน จังหวัด ........................................ กลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายในการค้นหาความต้องการด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำนวน ๔ กลุ่ม แบบสรุปความต้องการฯ (แบบรายงานที่ ๒) ที่ไม่ชัดเจน

  10. แบบสรุปความต้องการของกลุ่มด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์แบบสรุปความต้องการของกลุ่มด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ตัวชี้วัดที่ 4.2 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน จังหวัด ........................................ กลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายในการค้นหาความต้องการด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำนวน ๔ กลุ่ม แบบสรุปความต้องการฯ (แบบรายงานที่ ๒) ที่ถูกต้อง

  11. แบบแผนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผู้ผลิตชุมชนแบบแผนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผู้ผลิตชุมชน ตัวชี้วัดที่ 4.2 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน ชื่อกลุ่ม....................หมู่ที่........ชื่อบ้าน...................ตำบล........................อำเภอ..........................จังหวัด.................................. ความต้องการด้านการพัฒนา (ระบุให้ชัดเจน) คือ พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ แบบแผนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ฯ (แบบรายงานที่ ๓) ไม่ชัดเจน

  12. แบบแผนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผู้ผลิตชุมชนแบบแผนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผู้ผลิตชุมชน ตัวชี้วัดที่ 4.2 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน ชื่อกลุ่ม...................หมู่ที่........ชื่อบ้าน....................ตำบล........................อำเภอ........................จังหวัด....................... ความต้องการด้านการพัฒนา (ระบุให้ชัดเจน) คือ พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ผ้าทอจากผ้าผืนเป็นชุดสตรี แบบสรุปความต้องการฯ (แบบรายงานที่ ๓) ที่ถูกต้อง

  13. ปฏิทินการรายงาน

  14. การส่งรายงานล่าช้า การกรอกข้อมูลในแบบรายงานไม่ครบทุกช่อง การรวมแบบรายงานเป็นไฟล์เดียว การประกาศรับรองผลการพัฒนาฯ ไม่ตรงกับแบบรายงาน ข้อมูลที่กรอกในแบบรายงานและเอกสาร Online real time ไม่ตรงกัน เช่น กลุ่มเป้าหมาย ยอดรายได้ ข้อปัญหาที่พบ

  15. ความร่วมมือส่งแบบรายงานตามกำหนดความร่วมมือส่งแบบรายงานตามกำหนด แบบรายงาน ทั้ง ๔ แบบ ขอให้จัดส่งเป็นไฟล์ MS.Excel และ แยกแบบรายงานเป็นแผ่นงาน (sheet) แบบรายงานที่มีข้อมูลยอดการจำหน่าย (แบบ ๑ และ แบบ ๔) ขอความร่วมมือให้รวมยอดการจำหน่ายด้วย เพื่อการตรวจสอบข้อมูลที่ถูกต้อง ประกาศรับรองผลการพัฒนาฯขอให้จัดทำเป็นประกาศจังหวัดและหากส่งเป็นไฟล์ขอให้สแกนจากเอกสารตัวจริงที่มีลายเซ็นผู้ว่าราชการจังหวัด ขอให้จัดส่งรายงานเป็นเอกสาร และ ทาง e-mail : kbo@hotmail.co.th การกรอกข้อมูลในระบบ Online real timeต้องตรงกับข้อมูลตามเอกสาร หากข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงขอให้ประสานงานเจ้าหน้าที่ผู้ประสานงานตัวชี้วัด การจัดส่งแบบรายงาน

  16. ผู้ประสานงานตัวชี้วัดผู้ประสานงานตัวชี้วัด ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : นายวิฑูรย์ นวลนุกูล เบอร์ติดต่อ : 02-141-6077/ 081-7001590 **สามารถ download power point ได้ที่ http://www.cep.cdd.go.th**

  17. ตัวชี้วัดที่ ๕ ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ มิติภายนอก การประเมินคุณภาพ ค่าน้ำหนัก ๗ หน่วยงานรับผิดชอบ - สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน - สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กลุ่มเป้าหมายในส่วนสำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชนคือ กลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่เข้าร่วมโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่เครือข่าย องค์ความรู้ KBO จังหวัด ปี ๒๕๕๕ ในกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตชุมชน โดยเครือข่ายองค์ความรู้ KBO จังหวัด จำนวน ๒,๕๐๐ กลุ่ม

  18. ตัวชี้วัดที่ ๕ ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ • การประเมิน • - สำนักงานสถิติแห่งชาติ เป็นหน่วยประเมิน • ส่งแบบสอบถามความพึงพอใจถึงกลุ่มเป้าหมายโดยตรง • - ช่วงระยะเวลาการประเมิน สิงหาคม – กันยายน ๒๕๕๕

  19. ตัวชี้วัดที่ ๕ ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ข้อเน้นย้ำ ขอให้จังหวัด - แจ้งกลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่เข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตชุมชน โดยเครือข่ายองค์ความรู้ KBO จังหวัด ทราบว่าเป็นกลุ่มเป้าหมายในการประเมินตามตัวชี้วัดที่ ๕ พร้อมทั้งขอให้กรอกแบบสอบถาม และจัดส่งกลับสำนักงานสถิติแห่งชาติด้วย - จัดทำบัญชีรายชื่อ พร้อมที่อยู่ ของกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายให้ชัดเจน เตรียมไว้สำหรับจัดส่งให้สำนักงานสถิติแห่งชาติ ในช่วงเดือนสิงหาคม ๒๕๕๕

  20. กิจกรรมสนับสนุนตัวชี้วัด ๔.๒ ตามแผนยุทธศาสตร์ กรมฯ พัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ และการตลาด ๑. ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนครบวงจร ๘๗๘ ศูนย์ ๒๗,๑๒๐,๐๐๐ บาท ๒. ส่งเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ๓๐๔ กลุ่ม ๙,๗๐๘,๐๐๐ บาท ๓. พัฒนาศัยกภาพเครือข่าย OTOP ๔ ภาค ๖,๘๖๖,๑๐๐ บาท ๔. เสริมช่องทางการตลาด ๕๕๖,๒๙๑,๑๐๐ บาท – OTOP ภูมิภาค ๕ จุด – OTOP สานสัมพันธ์สองแผ่นดิน ๘ จังหวัด – OTOPMOBILE TO THE FACTORY AND FESTIVAL ๗๖ จังหวัด – จัดแสดง จำหน่ายและกระจายสินค้า OTOP ๙ แห่ง – ช่วยเหลือ ฟื้นฟู OTOP ประสบภัยน้ำท่วม ๓ ครั้ง ส่งเสริมการสืบสาน ภูมิปัญญาท้องถิ่น และเผยแพร่สู่เวทีโลก ๑. หมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว (OVC) ๘ หมู่บ้าน ๘,๖๒๑,๘๐๐ บาท ๒. ส่งเสริมและพัฒนาคลัง ภูมิปัญญาท้องถิ่น และสืบสาน สุดยอดภูมิปัญญาไทยสู่เวทีโลก ๖ ครั้ง ๒,๕๒๐ ผลิตภัณฑ์ ๔๔,๒๕๒,๕๐๐ บาท๓. พัฒนาเยาวชนเพื่อการ อนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ๖๖๐ คน ๒๔,๘๙๔,๒๐๐ บาท พัฒนาผลิตภัณฑ์ ชุมชนด้วย องค์ความรู้และนวัตกรรม เสริมสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายองค์ความรู้ KBO จังหวัด ๗๖ จังหวัด ๒,๕๐๐ ผลิตภัณฑ์ ๓๐,๑๙๕,๐๐๐ บาท

More Related