1 / 148

นายเธียรชัย ชูกิตติวิบูลย์ ผู้อำนวยการส่วนตรวจสอบเงินช่วยเหลือ สำนักช่วยเหลือผู้ประสบภัย ปภ.

การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย และ หลักเกณฑ์การออกหนังสือรับรองผู้ประสบภัย. นายเธียรชัย ชูกิตติวิบูลย์ ผู้อำนวยการส่วนตรวจสอบเงินช่วยเหลือ สำนักช่วยเหลือผู้ประสบภัย ปภ.

ramiro
Download Presentation

นายเธียรชัย ชูกิตติวิบูลย์ ผู้อำนวยการส่วนตรวจสอบเงินช่วยเหลือ สำนักช่วยเหลือผู้ประสบภัย ปภ.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย และ หลักเกณฑ์การออกหนังสือรับรองผู้ประสบภัย นายเธียรชัย ชูกิตติวิบูลย์ผู้อำนวยการส่วนตรวจสอบเงินช่วยเหลือสำนักช่วยเหลือผู้ประสบภัย ปภ.

  2. “...การบรรเทาความเดือดร้อนนั้น แม้จะเป็นเพียงบรรเทา มิใช่ขจัดโดยสิ้นเชิง แต่สำคัญมากที่ผู้ประสบภัยธรรมชาติย่อมมีความรู้สึก มีกำลังใจในการสู้ชีวิต ถ้าหากได้รับความช่วยเหลือด้วยไมตรีจากผู้อื่นที่ไม่ประสบภัย...” พระราชทานแก่คณะกรรมการจัดงานสุรสีห์รำลึก ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๒๒

  3. เกิดภัยพิบัติ (Disaster impact) ระหว่าง เกิดภัย การจัดการในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Response) การเตรียมความพร้อม (Preparedness) ก่อนเกิดภัย หลังเกิดภัย การป้องกันและลดผลกระทบ (Prevention and Mitigation) การฟื้นฟูบูรณะ (Rehabilitation and Reconstruction) วัฏจักรการบริหารจัดการภัยพิบัติ

  4. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ประโยชน์สุข ของประชาชน หลักการบริหารราชการของรัฐ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ ความมีประสิทธิภาพ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ตอบสนองความต้องการของ ปชช. อำนวยความสะดวก

  5. บทบาท-อำนาจหน้าที่ พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.๒๔๕๗- มาตรา ๒๗ ข้อ ๑๔ ผญบ.มีหน้าที่และอำนาจสั่งให้ราษฎรช่วยเหลือในการสาธารณประโยชน์เพื่อบำบัดปัดป้องภยันตรายซึ่งมีมาเป็นสาธารณะโดยฉุกเฉิน และให้ทำการช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ราษฎรผู้ประสบสาธารณภัย

  6. บทบาท-อำนาจหน้าที่ พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.๒๔๕๗- มาตรา ๒๗ ข้อ ๑๘ ผญบ.มีหน้าที่รายงานเหตุการณ์ซึ่งเกิดขึ้นในหมู่บ้านให้กำนันทราบ เพื่อให้กำนันรายงานต่อคณะกรมการอำเภอ

  7. บทบาท-อำนาจหน้าที่ พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.๒๔๕๗- มาตรา ๓๔ การที่จะป้องกันภยันตรายและรักษาความสุขสำราญของราษฎรในตำบล อยู่ในหน้าที่ของกำนันผู้เป็นนายตำบล- มาตรา ๓๔ ทวิกำนันมีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับ ผญบ.

  8. บทบาท-อำนาจหน้าที่ พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.๒๔๕๗- มาตรา ๓๖ ถ้ากำนันรู้เห็นเหตุทุกข์ร้อนของราษฎรเกิดขึ้นในตำบล ต้องรีบรายงานต่อกรมการอำเภอให้ทราบ

  9. บทบาท-อำนาจหน้าที่ พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.๒๔๕๗- มาตรา ๓๗ ถ้าเกิดเหตุร้ายสำคัญอย่างใดๆ ในตำบลของตนหรือในตำบลใกล้เคียงอันสมควรจะช่วยได้ เป็นหน้าที่ของกำนันจะต้องช่วยตามควรแก่การโดยเต็มกำลัง

  10. บทบาท-อำนาจหน้าที่ พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖- มาตรา ๕๐ ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตเทศบาลดังต่อไปนี้.....(๕) ให้มีเครื่องใช้ในการดับเพลิง.....(๙) หน้าที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นหน้าที่ของเทศบาล

  11. บทบาท-อำนาจหน้าที่ พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖- มาตรา ๕๓ ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลเมืองมีหน้าที่ต้องทำในเขตเทศบาลดังต่อไปนี้(๑) กิจการตามที่ระบุไว้ในมาตรา ๕๐ ฯลฯ

  12. บทบาท-อำนาจหน้าที่ พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖- มาตรา ๕๖ ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลนครมีหน้าที่ต้องทำในเขตเทศบาลดังต่อไปนี้(๑) กิจการตามที่ระบุไว้ในมาตรา ๕๓ ฯลฯ

  13. บทบาท-อำนาจหน้าที่ พ.ร.บ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.๒๕๓๗- มาตรา ๖๗ ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ต้องทำในเขต อบต.ดังต่อไปนี้.....(๔) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

  14. บทบาท-อำนาจหน้าที่ พ.ร.บ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.๒๕๕๐- มาตรา ๒๑ (๖) เมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้นในเขตพื้นที่ใด ให้ผู้อำนวยการท้องถิ่นมีหน้าที่จัดให้มีการสงเคราะห์ผู้ประสบภัยโดยทั่วถึงและรวดเร็ว

  15. บทบาท-อำนาจหน้าที่ พ.ร.บ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.๒๕๕๐- มาตรา ๓๐ ให้ผู้อำนวยการท้องถิ่นรับผิดชอบสำรวจความเสียหายจากสาธารณภัยที่เกิดขึ้น และทำบัญชีรายชื่อผู้ประสบภัยและทรัพย์สินที่เสียหาย พร้อมทั้งออกหนังสือรับรองให้ผู้ประสบภัยไว้เป็นหลักฐาน

  16. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการออกหนังสือรับรอง กรณีผู้ประสบภัย หรือเจ้าของ หรือผู้ครอบครองทรัพย์สิน ร้องขอหลักฐาน เพื่อรับการสงเคราะห์ หรือบริการอื่นใด พ.ศ.๒๕๕๒

  17. มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ เป็นต้นไป ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๗ ตอนพิเศษ ๒๖ ง วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓

  18. พ.ร.บ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจ ออกกฎกระทรวง ระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจา นุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้

  19. เมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้นเมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้น ผู้อำนวยการในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ มีหน้าที่ - สำรวจความเสียหายที่เกิดขึ้น - จัดทำบัญชีรายชื่อผู้ประสบภัยและทรัพย์สิน ที่เสียหาย - ออกหนังสือรับรองให้ผู้ประสบภัยเป็นหลักฐาน

  20. การขอหนังสือรับรองผู้ประสบภัย ผู้ประสบภัย เจ้าของ ผู้ครอบครองทรัพย์สิน อปท.พื้นที่ที่เกิดภัย ภายใน ๙๐ วัน นับแต่วันที่ ภัยสิ้นสุดลง บุคคลธรรมดา: สำเนาบัตร ปชช. / สำเนาทะเบียนบ้าน นิติบุคคล : สำเนาหนังสือรับรองฯ / สำเนาหนังสือบริคณห์สนธิ

  21. กรณีเอกสารราชการของผู้ประสบภัยสูญหาย/เสียหายกรณีเอกสารราชการของผู้ประสบภัยสูญหาย/เสียหาย อปท.พื้นที่ที่เกิดภัย/ที่เป็นภูมิลำเนาของผู้ประสบภัย ผู้ประสบภัย หน่วยงานของรัฐ/อปท.ที่เกี่ยวข้อง ออกเอกสารให้ใหม่โดยไม่เก็บค่าธรรมเนียม/ค่าบริการ

  22. การออกหนังสือรับรองผู้ประสบภัย อปท.พื้นที่ที่เกิดภัย หากไม่ออกหนังสือรับรอง แจ้งผู้ขอภายใน ๗ วันทำการ พร้อมแจ้งสิทธิในการอุทธรณ์ ออกหนังสือรับรอง ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่รับเอกสารครบถ้วน ผู้ประสบภัย เจ้าของ ผู้ครอบครองทรัพย์สิน

  23. แหล่งเงินช่วยเหลือผู้ประสบภัยแหล่งเงินช่วยเหลือผู้ประสบภัย (๑) เงินงบประมาณของท้องถิ่น (๒)เงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี (๓)เงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (๔)เงินงบกลาง รายการเงินสำรองจ่ายเพื่อ กรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น (๕) เงินบริจาค

  24. รายจ่ายตามงบประมาณ รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ รายจ่าย งบกลาง งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น

  25. เงินทดรองราชการ เงินที่กระทรวงการคลังจ่ายและอนุญาตให้ส่วนราชการมีไว้ตามจำนวนที่เห็นสมควรเพื่อทดรองเป็นค่าใช้จ่ายตามระเบียบหรือข้อบังคับของกระทรวงการคลัง

  26. “ทดรอง” สำรองเงิน ออกแทนไปก่อน

  27. ระเบียบกระทรวงการคลังระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม

  28. ความเป็นมาและพัฒนาการของระเบียบความเป็นมาและพัฒนาการของระเบียบ ระเบียบ กค. ว่าด้วยการจ่ายเงินเพื่อบรรเทา ภัยธรรมชาติในกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๑๔ (ตามข้อเสนอของ มท.) ตั้งงบประมาณให้จังหวัดต่างๆ จังหวัดละ ๒๐,๐๐๐ บาท ไว้ที่ส่วนกลาง (กรมประชาสงเคราะห์)

  29. ความเป็นมาและพัฒนาการของระเบียบความเป็นมาและพัฒนาการของระเบียบ (๒) ระเบียบ กค. ว่าด้วยการจ่ายเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือราษฎรที่ประสบภัยธรรมชาติ พ.ศ.๒๕๒๒ (แก้ไขเพิ่มเติม (ฉ.๒) พ.ศ.๒๕๓๓) คงหลักการเดิม แต่แยกประเภทการช่วยเหลือ ให้ชัดเจนขึ้น - ด้านเกษตร : กรมประมง, กรมปศุสัตว์ - ด้านอื่นๆ : กรมการปกครอง และกรมส่งเสริมการเกษตร

  30. ความเป็นมาและพัฒนาการของระเบียบความเป็นมาและพัฒนาการของระเบียบ • (๓) ระเบียบ กค. ว่าด้วยการจ่ายเงินทดรองราชการ • เพื่อช่วยเหลือราษฎรที่ประสบภัยธรรมชาติ พ.ศ.๒๕๓๖ • คงหลักการเดิม โดยให้ ทปค.จว. เบิกเงินจากคลัง • ซึ่งเป็นเงินทดรองราชการ ช่วยเหลือไปก่อน • - ด้านเกษตร : กรมประมง, กรมปศุสัตว์ : ๒ ล้านบาท • ด้านอื่นๆ : กรมการปกครอง และ • กรมส่งเสริมการเกษตร : ๕ ล้านบาท)

  31. ความเป็นมาและพัฒนาการของระเบียบความเป็นมาและพัฒนาการของระเบียบ (๔) ระเบียบ กค. ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๓๘ กำหนดขอบเขต “ภัยพิบัติ” ให้ชัดเจน ระบุชนิดของภัยพิบัติ กำหนดจุดมุ่งหมายและกรอบการใช้จ่ายเงิน

  32. ความเป็นมาและพัฒนาการของระเบียบความเป็นมาและพัฒนาการของระเบียบ (๕) ระเบียบ กค. ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๖ (แก้ไขเพิ่มเติม (ฉ.๒) พ.ศ.๒๕๔๙, (ฉ.๓) พ.ศ.๒๕๕๒) กำหนดขอบเขตการใช้จ่ายเงินทดรองราชการจะต้องเป็นการบรรเทาความเดือดร้อนและแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า

  33. ระเบียบกระทรวงการคลังระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๖ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๙ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๕๒

  34. เจตนารมณ์/วัตถุประสงค์เจตนารมณ์/วัตถุประสงค์ • วางหลักเกณฑ์สำหรับส่วนราชการในการดำเนินการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ • โดยเร่งด่วน ตามความจำเป็น และเหมาะสม • มุ่งหมายที่จะบรรเทาความเดือดร้อนเฉพาะหน้าของผู้ประสบภัย • มิได้มุ่งหมายที่จะชดใช้ความเสียหายให้แก่ผู้ใด

  35. ผู้ประสบภัยพิบัติ บุคคลผู้ได้รับความเดือดร้อน หรือความเสียหายจากภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน และให้หมายความรวมถึงส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐที่ได้รับความเดือดร้อนหรือความเสียหายจากภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ในเขตพื้นที่นั้นด้วย

  36. ผู้ประสบภัยพิบัติ เป็นบุคคลธรรมดา มิใช่นิติบุคคล ไม่จำเป็นต้อง มีสัญชาติไทย (๒) เป็นผู้ได้รับผลกระทบโดยตรงและได้รับความ เดือดร้อน ผู้ประสบความเดือดร้อนหรือเสียหายเป็นต้นเหตุ ทำให้เกิดภัยพิบัติเอง ก็มีสิทธิได้รับความช่วยเหลือ (๔) ส่วนราชการ/หน่วยงานของรัฐ มีงบประมาณ รายจ่ายของหน่วยงานอยู่แล้ว จึงไม่อาจใช้เงิน ทดรองฯ ได้

  37. ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (๑) “ภัยพิบัติ” ต้องเป็นสาธารณภัยที่ทำความเสียหาย แก่คนหมู่มากและเป็นการทั่วไป (๒) “ภัยที่คาดหมายว่าจะเกิดขึ้นในเวลาอันใกล้” ต้องนำ สถิติข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรม อุตุนิยมวิทยา กรมชลประทาน ฯลฯ มาประกอบการใช้ ดุลยพินิจด้วย (๓) กรณีมีความเสียหายเกิดขึ้น แต่ส่งผลกระทบในระยะ ยาว ส่วนราชการสามารถใช้งบประมาณปกติได้

  38. ต้องดำเนินการช่วยเหลือโดยเร่งด่วนต้องดำเนินการช่วยเหลือโดยเร่งด่วน ความเดือดร้อนเฉพาะหน้า ซึ่งต้องเกี่ยวข้องกับ ความปลอดภัยในชีวิต ร่างกายของประชาชน และความเดือดร้อนจากการที่ทรัพย์สินของประชาชน ได้รับความเสียหายจากภัยพิบัติ อันส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชาชน ทำให้ไม่อาจดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างปกติ

  39. ช่วยเหลือ “ตามความจำเป็นและเหมาะสม” ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีดำเนินการ ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ที่กระทรวงการคลังกำหนด

  40. มุ่งหมาย “บรรเทาความเดือดร้อนเฉพาะหน้า” มีเป้าหมายเพื่อช่วยเหลือประชาชน ให้สามารถกลับไปดำรงชีวิตได้ตามปกติ จึงกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายในจำนวน ที่เหมาะสมจำเป็นแก่การดำรงชีพ แต่มิได้เป็นการชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ผู้ใด

  41. ส่วนราชการที่มีวงเงินทดรองราชการส่วนราชการที่มีวงเงินทดรองราชการ สลน. ๑๐๐,๐๐๐,๐๐๐ สป.มท. ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ สป.กห. ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ ปภ. ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ สป.กษ. ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ ปภ.จว. ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ สป.พม. ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ สป.สธ. ๑๐,๐๐๐,๐๐๐

  42. หลักการใช้เงินทดรองราชการหลักการใช้เงินทดรองราชการ (ข้อ ๒๑) สป.พม. สลน. สป.กษ. จังหวัด สป.สธ อำเภอ ปภ. สป.มท.

  43. หลักการใช้เงินทดรองราชการหลักการใช้เงินทดรองราชการ (ข้อ ๒๑) สป.มท. สลน. สป.กษ. สป.พม. ปภ. สป.สธ. จังหวัด

  44. อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง ภัยพิบัติ ภาวะฝนแล้ง ฝนทิ้งช่วง ฟ้าผ่า ภัยจากลูกเห็บ ภัยจากไฟป่า ภัยจากโรค/การระบาดของแมลง/ศัตรูพืชทุกชนิด อากาศหนาวจัดผิดปกติ ภัยสงคราม ภัยอันเนื่องมาจากการกระทำของผู้ก่อการร้าย กองกำลังจากนอกประเทศ หรือจากการปราบปรามของเจ้าหน้าที่ของทางราชการ สาธารณภัย ภัยอื่นๆ ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติ/มีบุคคล/สัตว์ ทำให้เกิดขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตร่างกายของประชาชน/เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือรัฐ

  45. ฉุกเฉิน เกิดขึ้นโดยปัจจุบันทันด่วน หรือเป็นที่คาดหมายว่าจะเกิดขึ้นในเวลาอันใกล้ และจำเป็นต้องรีบแก้ไขโดยฉับพลัน

  46. การประกาศภัยพิบัติ ข้อ ๑๖ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจ ประกาศภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ข้อ ๑๗ เมื่อมีการประกาศตามข้อ ๑๖ แล้ว ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนด

  47. ประกาศภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินประกาศภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ประเภทของภัย พื้นที่ที่เกิดภัย วัน เดือน ปี ที่เกิดและสิ้นสุดภัย เวลาเริ่มต้นและเวลาสิ้นสุดของการให้ความ ช่วยเหลือ ทั้งนี้ ต้องไม่เกิน ๓ เดือน นับแต่วันเกิดภัย กรณีไม่สามารถช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติได้ภายในกำหนด เวลา ให้เป็นดุลยพินิจของ อปภ. ที่จะพิจารณาอนุมัติให้ขยายระยะเวลาได้ ตามความจำเป็นและเหมาะสม

  48. ประกาศจังหวัด............... เรื่อง ประกาศพื้นที่ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (๑) ชื่อภัย ด้วยได้เกิดเหตุภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน โดยเกิดเหตุ.................... ขึ้นในพื้นที่ของ..........................................................เมื่อวันที่ ........................................ก่อให้เกิดความเสียหายต่อ................. ................................................................................................... และภัยพิบัติดังกล่าวได้สิ้นสุดลงแล้ว เมื่อวันที่...................... ...................... (๒) หมู่ที่/ตำบล/อำเภอ/จังหวัด (๓) วันและเวลาที่เกิดภัย ชีวิต บ้านเรือน สัตว์เลี้ยง ไร่นา สิ่งสาธารณประโยชน์ ฯลฯ (๓) วันและเวลา ที่สิ้นสุดภัย

  49. อาศัยอำนาจตามข้อ ๑๖ (๒) ของระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณี ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ผู้ว่าราชการจังหวัด ...........................จึงประกาศให้พื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน และจำเป็นต้องให้ความช่วยเหลือเป็น กรณีเร่งด่วน................................................................................ (๔) ทั้งนี้ ต้องไม่เกิน ๓ เดือน นับแต่วันเกิดภัย

  50. การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ข้อ ๒๐ การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย พิบัติในอำเภอ หรือจังหวัด ให้ดำเนินการ ตามมติของ ก.ช.ภ.อ. หรือ ก.ช.ภ.จ. แล้วแต่กรณี

More Related