1 / 35

1. การพิสูจน์เหตุผลนิรนัย - การอ้างเหตุผลแบบละข้อความ “เอนทีม”

“เธอโง่อีกหน่อยก็หมดตัว”. 1. การพิสูจน์เหตุผลนิรนัย - การอ้างเหตุผลแบบละข้อความ “เอนทีม” - การอ้างเหตุผลแบบเชื่อมข้อความ “โซริเตส” 2. การพิสูจน์ความสมเหตุสมผลด้วยแผนภูมิเวนน์ 3. การพิสูจน์ความสมเหตุสมผลการนิรนัยด้วยสัญลักษณ์เบื้องต้น ประโยคเหตุผลเชิงซ้อน(บทที่ 7/...)

rajah-stone
Download Presentation

1. การพิสูจน์เหตุผลนิรนัย - การอ้างเหตุผลแบบละข้อความ “เอนทีม”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “เธอโง่อีกหน่อยก็หมดตัว”“เธอโง่อีกหน่อยก็หมดตัว” 1. การพิสูจน์เหตุผลนิรนัย - การอ้างเหตุผลแบบละข้อความ “เอนทีม” - การอ้างเหตุผลแบบเชื่อมข้อความ “โซริเตส” 2. การพิสูจน์ความสมเหตุสมผลด้วยแผนภูมิเวนน์ 3. การพิสูจน์ความสมเหตุสมผลการนิรนัยด้วยสัญลักษณ์เบื้องต้น ประโยคเหตุผลเชิงซ้อน(บทที่ 7/...) 4. การพิสูจน์ความสมเหตุสมผลการอ้างเหตุผลแบบอุปนัย(บทที่11) 5. การอ้างเหตุผลบกพร่อง(สิ่งที่พึงละเว้น) (บทที่12) 6. ภาคผนวก: การคิดแบบพุทธวิธี “เธอโง่อีกหน่อยก็หมดตัวสักพักก็ถูกทิ้งสุดท้ายก็คงต้องขอทาน”

  2. หลักการของอริสโตเติล • 1.ค้นหาข้อเท็จจริง • 2.วิเคราะห์ข้อเท็จจริง • 3.ทำการตัดสินใจ • 4.ปฏิบัติตามการตัดสินใจ วัยหนุ่มสาว ถ้าไม่เป็นซ้ายก็ไร้ใจ ครั้นถึงวัยชราถ้ายังเป็นซ้ายก็ไร้สมอง ปราชญ์นิรนาม

  3. ตรรกะแบบ ชาล้นถ้วย

  4. เหตุผลย่อ หรือเหตุผลแบบละข้อความ (Enthymeme) คือ 1. การให้เหตุผลโดยทิ้ง Proposition ไว้ให้เข้าใจเองข้อหนึ่ง 2. การให้เหตุผลโดยปล่อยส่วนที่เข้าใจแล้วโดยไม่แสดงออกมา 3. การให้เหตุผลโดยทิ้งอีกประโยคตรรกะหนึ่งไว้เป็นปริศนา 4. รูปนิรนัย(Syllogism)ที่ขาดบทตั้งหรือข้อเสนอ อย่างน้อย 1 ข้อ

  5. สรุป Enthymeme (เหตุผลย่อ) คือ รูปแบบของการใช้เหตุผลหรือการอ้างเหตุผลที่ใช้จริงในชีวิตประจำเป็นการอ้างเหตุผลที่ลดรูปหรือข้อความที่เข้าใจแล้วเอาไว้ เช่น - ทุกคนก็ต้องตายเพราะเขาคน (Argument) - เพราะเธอเป็นคนใต้จึงชอบกินสะตอ (Argument) - คนเราทุกวันนี้ไว้ใจกันไม่ค่อยได้ (Argument) - ผมพอแล้วครับเพราะผมรวยแล้ว (Argument)

  6. - ผมพอแล้วครับพี่น้อง เพราะผมรวยแล้วครับ (Argument) มาจากรูป Syllogism ดังนี้ คนที่รวยแล้วบางคนเป็นคนพอแล้ว 1. คนที่รวยแล้วทุกคนเป็นคนพอแล้ว 2. ผม. (......)เป็นคนรวยแล้ว . . . 3. ผม(.......)เป็นคนพอแล้ว(จะไม่โกง)

  7. การสร้างช่วงความคิด (Syllogism) จากEnthymeme เหตุผลย่อ หลักการเติมข้อความที่ละไว้ 1.ถ้าข้อสรุปเป็นประโยคยืนยัน ข้ออ้างทั้งคู่ต้องเป็นประโยคยืนยัน 2. ถ้าข้อสรุปเป็นประโยคยืนยัน ข้ออ้างข้อหนึ่งจะต้องเป็นประโยคปฏิเสธ 3.ข้อความที่ละไว้ ต้องเติมเป็นข้อความที่ทำให้ความคิดสมเหตุสมผลเท่านั้น

  8. ความรู้บางอย่างเป็นพื้นฐานของความจริง ความรู้ทุกอย่างเป็นพื้นฐานของความจริง 1. ................................................................ (ข้อความที่ละไว้) 2. ข่าวลือบางอย่างไม่เป็นพื้นฐานของความจริง 3. . . . ข่าวลือบางอย่างไม่เป็นความรู้ เฉลย 1. พื้นฐานของความจริง (ทุกอย่าง) เป็นความรู้ 2. ความรู้ทุกอย่างเป็นพื้นฐานของความจริง คำตอบที่ 2. เพราะทำให้สมเหตุสมผล

  9. เหตุผลละข้อความมี 3 รูปแบบ (กำหนดจากเทอมที่ละไว้) 1. เหตุผลแบบละข้ออ้างเอก เช่น นักการเมืองก็ต้องตายเพราะเขาเป็นคน (Argument) ข้ออ้างที่ 1. คนทุกคนเป็นผู้ต้องตาย ข้ออ้างที่ 2. นักการเมืองทุกคนเป็นคน ข้อสรุป 3.. . .นักการเมืองทุกคนเป็นผู้ต้องตาย

  10. 2. เหตุผลละข้ออ้างโท บิล เกตส์รวยจริงเพราะใครก็ตามที่รู้จักประหยัดจะเป็นคนรวย 1. คนที่รู้จักประหยัดทุกคนเป็นคนรวยจริง 2. บิล เกตส์เป็นคนที่รู้จักประหยัด 3.. . .บิล เกตส์เป็นคนร่ำรวย * ข้ออ้างที่ละไว้ คือ “บิล เกตส์เป็นคนที่รู้จักประหยัด” เป็นข้ออ้างโท

  11. 3. เหตุผลละข้อสรุป ข้อความที่มีอยู่ คือ ข้ออ้างเอก ==> ข้ออ้างโท Ex. เอาน๊ะๆ อย่างไรก็ตามทุกคนล้วนแล้วแต่ก็มีเหตุผลด้วยกันทั้งนั้นคุณก็เหมือนกันแหละ (Argument) 1. คนทุกคนเป็นผู้มีเหตุผล 2. คุณ(ก็)เป็นคน(คนหนึ่ง) 3. . . . คุณ(ก็)เป็นผู้มีเหตุผล สมเหตุสมผล.....

  12. บางกรณีไม่อาจสร้างประโยคมาเติมอย่างสมเหตุสมผลได้บางกรณีไม่อาจสร้างประโยคมาเติมอย่างสมเหตุสมผลได้ • เพื่อนของเขาแทบทุกคนดื่มเหล้า ดังนั้นเพื่อนของเขาทุกคนขี้เมา 1. ............................................. (ละไว้) 2. เพื่อนของเขาบางคน เป็น คนดื่มเหล้า 3. ดังนั้น เพื่อนของเขาทุกคน เป็น คนขี้เมา

  13. เปรียบเทียบรูปSyllogismกับEnthymemeเปรียบเทียบรูปSyllogismกับEnthymeme Syllogism Enthymeme คนขยันทุกคน เป็นผู้หาทรัพย์ได้ 1. คนขยันทุกคน เป็นผู้หาทรัพย์ได้ 1. .................................................... 2. จิ๊บเป็นคนขยัน 2. จิ๊บเป็นคนขยัน . . . จิ๊บเป็นผู้หาทรัพย์ได้ . . . จิ๊บเป็นผู้หาทรัพย์ได้ ประโยคที่ละไว้ คือ ประโยคที่เข้าใจกันแล้ว (จึงไม่ต้องแสดงออกมา) นิทานอีสบ :ขุมทรัพย์ในไร่องุ่น

  14. 1.โซริเตสแบบตามของอริสโตเติล1.โซริเตสแบบตามของอริสโตเติล • Aเป็นB • B เป็น C • C เป็น D • D เป็น E • ... Aเป็น E 1. ... A เป็น C (ข้อสรุปและข้ออ้างที่ละไว้) 2. ... A เป็น D (ข้อสรุปและข้ออ้างที่ละไว้) โซริเตสแบบตามของอริสโตเติลข้ออ้างเริ่มต้นด้วยเทอมโท

  15. 2.โซริเตสแบบทวนของโกเคลน2.โซริเตสแบบทวนของโกเคลน • a are b • c are a • d are c • e are d • ... e are b 1. ... c เป็น b (ข้อสรุปและข้ออ้างที่ละไว้) 2. ... d เป็น b (ข้อสรุปและข้ออ้างที่ละไว้) โซริเตสแบบทวนของโกเคลน ข้ออ้างเริ่มต้นด้วยเทอมเอก

  16. A เป็น B B เป็น C C เป็น D D เป็น E ...A เป็น E a are b c are a d are c e are d ... e are b เปรียบเทียบ โซริเตสแบบตามของอริสโตเติล โซริเตสแบบทวนของโกเคลน ใช้เทอมเอกเป็นข้ออ้างแรกและข้อสรุป ใช้เทอมโทเป็นข้ออ้างแรกและข้อสรุป

  17. จอห์นเป็นคนชอบซื้อของแพงจอห์นเป็นคนชอบซื้อของแพง คนชอบซื้อของแพงเป็นคนฟุ่มเฟือย คนฟุ่มเฟือยเป็นคนเก็บเงินไม่ได้ คนที่เก็บเงินไม่ได้เป็นคนจน ...จอห์นเป็นคนจน คนที่เก็บเงินไม่ได้เป็น คนจน คนฟุ่มเฟือยเป็นคนเก็บเงินไม่ได้ คนชอบซื้อของแพงเป็นคนฟุ่มเฟือย จอห์นเป็นคนชอบซื้อของแพง ... จอห์นเป็น คนจน เปรียบเทียบ โซริเตสแบบตามของอริสโตเติล โซริเตสแบบทวนของโกเคลน จอห์นเป็นคนฟุ่มเฟือย คนฟุ่มเฟือยเป็นคนจน จอห์นเป็นคนเก็บเงินไม่ได้ คนชอบซื้อของแพงเป็นคนจน

  18. การเขียนแผนภูมิเวนน์แทนประพจน์ตรรกศาสตร์การเขียนแผนภูมิเวนน์แทนประพจน์ตรรกศาสตร์ S P S S+P ช่อง 3 ช่อง 1 ช่อง 2 ช่อง 1 หมายถึง ประเภทของสมาชิกทั้งหมดที่เป็น S แต่ไม่เป็น P ช่อง 2 หมายถึง ประเภทของสมาชิกทั้งหมดที่เป็น S และเป็น P ช่อง 3 หมายถึง ประเภทของสมาชิกทั้งหมดที่เป็น P แต่ไม่เป็น S ช่อง 4 หมายถึง ประเภทของสมาชิกทั้งหมดที่ไม่เป็น S และไม่เป็น P

  19. แผนภูมิเวนน์แทนประพจน์Aแผนภูมิเวนน์แทนประพจน์A ความสุขซื้อไม่ได้แต่เป็นสิ่งสร้างได้ด้วยตัวเอง S S P ความสุขซื้อไม่ได้ สิ่งสร้างได้ด้วยตัวเอง S+P ช่อง 3 ช่อง 1 ช่อง 2 ช่อง 1 หมายถึง ไม่มีประเภทสมาชิกทั้งหมดของ S อยู่ ช่อง 2 หมายถึง ประเภทของสมาชิกทั้งหมดของ S เป็น P กฏของเวนน์คือช่องที่ระบายคือช่องที่ไม่มีสมาชิกแล้ว (ไม่ได้กล่าวถึง)

  20. แผนภูมิเวนน์แทนประพจน์Eแผนภูมิเวนน์แทนประพจน์E การมีเงินเพิ่มขึ้นมิได้ช่วยให้มีความสุขเพิ่มขึ้น S P การมีเงินเพิ่มขึ้น S+P ความสุขที่เพิ่มขึ้น ช่อง 3 ช่อง 1 ช่อง 2 ช่อง 1 หมายถึง ประเภทของสมาชิกทั้งหมดของS ที่ไม่เป็น P ช่อง 2 หมายถึง ไม่มีประเภทของสมาชิกทั้งหมดของ S เป็น P ช่องที่ระบายคือช่องที่ไม่มีสมาชิกที่กล่าวระบุถึง

  21. แผนภูมิเวนน์แทนประพจน์Iแผนภูมิเวนน์แทนประพจน์I คนในสังคมส่วนใหญ่ถูกลัทธิวัตถุนิยมครอบงำ S P X ผู้ถูกลัทธิวัตถุนิยมครอบงำ ช่อง 3 ช่อง 2 ช่อง 1 คนในสังคม ช่อง 2 หมายถึง ประเภทของสมาชิกบางส่วนที่เป็น S และเป็น P ช่องที่มี X คือช่องที่มีสมาชิกบางส่วน

  22. แผนภูมิเวนน์แทนประพจน์Oแผนภูมิเวนน์แทนประพจน์O คนส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีความสุขแท้จริง S P คนส่วนใหญ่ คนมีความสุขแท้จริง ช่อง 3 ช่อง 1 ช่อง 2 X ช่อง 1 หมายถึง ประเภทของสมาชิกบางส่วนที่ไม่เป็น S และเป็น P ช่องที่ X คือช่องที่มีสมาชิก

  23. การเขียนแผนภูมิเวนน์แทนช่วงความคิดการเขียนแผนภูมิเวนน์แทนช่วงความคิด S P M

  24. S P M 1 2 3 4 5 6 7 8 การใช้แผนภูมิของเวนน์เพื่อตัดสินการอ้างเหตุผลแบบนิรนัย S P M ช่วงความคิดแบบนิรนัยหรือซิลลอจิสม์ แต่ละชุดประกอบด้วย 3 เทอม แผนภูมิเวนน์จึงมี 3 วงกลมลากตัดกัน แต่ละจุดที่วงกลมลากตัดกันจะมีช่องต่างๆ เกิดขึ้น 7 ช่อง (ช่องที่ 8 อยู่ข้างนอก) ดังนี้ ช่องที่ 1 หมายถึง ประเภท S ไม่เป็นสมาชิกของ P และ M ช่องที่ 2 หมายถึง ประเภท S เป็นสมาชิกของ P และประเภท P เป็นสมาชิกของ S ช่องที่ 3 หมายถึง ประเภท P ไม่เป็นสมาชิกของ S และ M ช่องที่ 4 หมายถึง ประเภท S เป็นสมาชิกของ M และประเภท M เป็นสมาชิกของ S ช่องที่ 5 หมายถึง ประเภท S เป็นสมาชิกของ P และ M ประเภท P เป็น สมาชิกของ S และ M และประเภท M เป็นสมาชิกของ S และ P ช่องที่ 6 หมายถึง ประเภท P เป็นสมาชิกของ M และประเภท M ที่เป็นสมาชิกของ P ช่องที่ 7 หมายถึง ประเภท M ไม่เป็นสมาชิกของ S และ P ช่องที่ 8 หมายถึง ประเภทของสิ่งต่างๆ ไม่เป็นทั้ง S, P และ M

  25. การทดสอบความสมเหตุสมผลการทดสอบความสมเหตุสมผล AAA -1 All M are P All S are M ∴All S are P * S P * M Validity

  26. การทดสอบความสมเหตุสมผลการทดสอบความสมเหตุสมผล IEO -4 S P Some S are M No M are P ∴ Some S arenot P X S P X M Validity

  27. การทดสอบความสมเหตุสมผลการทดสอบความสมเหตุสมผล IAI -1 Some M are S ALL P are M ∴ Some S are P เทอมกลางไม่กระจาย S P X= All S are P X X X X X=All S arenot P All S are M M Invalidity

  28. ตัวอย่างนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จำนวน 300 คน เลือกเรียนวิชาศาสนาเบื้องต้น 150 คน เลือกเรียนวิชาตรรกศาสตร์เบื้องต้น 206 คน เลือกเรียนวิชาปรัชญาทั่วไป 80 คน เลือกเรียนทั้งวิชาศาสนาเบื้องต้นและตรรกศาสตร์เบื้องต้น 74 คน เลือกเรียนวิชาศาสนาเบื้องต้นและปรัชญาทั่วไป 32 คน เลือกเรียนทั้ง 3 วิชา 20 คน จงหาจำนวนนิสิตที่เลือกเรียนทั้งตรรกศาสตร์เบื้องต้นและปรัชญาทั่วไป แต่ไม่เรียนศาสนาเบื้องต้น โดยที่นิสิตแต่ละคนจะต้องเลือกเรียนอย่างน้อย 1 วิชา วิธีทำ ให้M แทนจำนวนของนิสิตที่เรียนวิชาศาสนาเบื้องต้น C แทนจำนวนของนิสิตที่เรียนวิชาตรรกศาสตร์เบื้องต้น B แทนจำนวนของนิสิตที่เรียนวิชาปรัชญาทั่วไป X แทนจำนวนนิสิตที่เรียนตรรกศาสตร์เบื้องต้นและปรัชญาทั่วไป แต่ไม่เรียนศาสนาเบื้องต้น ลำดับขั้นของแผนภาพแสดงจำนวนสมาชิกในเซตมีลักษณะดังนี้ M C X รูปแผนภูมิเวนน์แสดงนิสิตที่เรียนทั้งตรรกศาสตร์เบื้องต้นและปรัชญาทั่วไป แต่ไม่เรียนศาสนาเบื้องต้น X B

  29. M C X 20 นิสิตที่เรียนทั้ง 3 วิชา จำนวน 20 คน B M แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาศาสนาเบื้องต้น C แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาตรรกศาสตร์เบื้องต้น B แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาปรัชญาทั่วไป

  30. นิสิตที่เรียนศาสนาเบื้องต้นและปรัชญาทั่วไป 32 คน (20 + 12 = 32) M C 32 -20 = 12 X 20 12 B M แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาศาสนาเบื้องต้น C แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาตรรกศาสตร์เบื้องต้น B แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาปรัชญาทั่วไป

  31. นิสิตที่เรียนศาสนาเบื้องต้นและตรรกศาสตร์เบื้องต้น 74 คน (20 + 54 = 74) M 74-20= 54 C 54 X 20 12 B M แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาศาสนาเบื้องต้น C แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาตรรกศาสตร์เบื้องต้น B แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาปรัชญาทั่วไป

  32. M นิสิตที่เรียนศาสนาเบื้องต้น 150 คน (20 + 12 + 54 + 64 = 150) M 150 -20 -12-54 = 64 C 54 64 X 20 12 B M แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาศาสนาเบื้องต้น C แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาตรรกศาสตร์เบื้องต้น B แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาปรัชญาทั่วไป

  33. C นิสิตที่เรียนตรรกศาสตร์เบื้องต้น 206 คน [54 + 20 + x + (132 – x ) = 206] M 206-74- x = 132- x C 54 132 – x 64 X 20 12 B M แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาศาสนาเบื้องต้น C แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาตรรกศาสตร์เบื้องต้น B แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาปรัชญาทั่วไป

  34. B นิสิตที่เรียนปรัชญาทั่วไป 80 คน [12 + 20 + x + (48 – x ) = 80] 80-12-20- x =48-x M C M แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาศาสนาเบื้องต้น C แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาตรรกศาสตร์เบื้องต้น B แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาปรัชญาทั่วไป 54 132 – x 64 X 20 12 จากแผนภาพดังกล่าวจะได้คำตอบเป็นข้อสรุปดังนี้ 150 + (48 – x) + x + (132 – x) = 300 330 – x = 300 x = 30 B 48 – x นิสิตที่เรียนทั้งวิชาตรรกศาสตร์เบื้องต้น และปรัชญาทั่วไปแต่ไม่เรียนศาสนาเบื้องต้นเท่ากับ 30 คน

  35. กิจกรรม :แบบฝึกหัด จงสร้างประโยคเหตุผลข้างล่างนี้ให้อยู่ในรูป Syllogism ที่สมบูรณ์และวิเคราะห์ประเมินการใช้เหตุผลว่าความน่าเชื่อถือเป็นอย่างไร 1. .................................................................................... พี่น้องครับผมถูกกล่าวหาเพราะว่าชีวิตผมเป็นผู้ถูกกระทำมาโดยตลอด 2. ........................................................................................ คุณโชคดีแค่ไหนแล้ว เพราะว่าได้เกิดมาเป็นคนไทย 3. ........................................................................................ คนเห็นแก่ตัวเป็นคนชั่วจึงไม่ควรเลือกเข้าสภา 4. ........................................................................................ เพราะว่าทุกคนรักตัวเองจึงไม่ควรที่จะเบียดเบียนกัน 5. ........................................................................................ เขากลัวผู้หญิงเพราะว่าเขาเป็นVenustaphobia

More Related