670 likes | 1.02k Views
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำและประสานแผนพัฒนาสามปี ( พ.ศ.๒๕๕๘-๒๕๖๐ ) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตจังหวัดนครสวรรค์. กรอบแนวคิดในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น. แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับ ที่ ๑๑ ยุทธศาสตร์ประเทศ วาระแห่งชาติ แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ๒
E N D
การประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำและประสานแผนพัฒนาสามปี(พ.ศ.๒๕๕๘-๒๕๖๐)ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดนครสวรรค์การประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำและประสานแผนพัฒนาสามปี(พ.ศ.๒๕๕๘-๒๕๖๐)ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดนครสวรรค์
กรอบแนวคิดในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นกรอบแนวคิดในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ • ยุทธศาสตร์ประเทศ • วาระแห่งชาติ • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ๒ • แผนพัฒนาจังหวัดนครสวรรค์
กรอบแนวคิดในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (ต่อ)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙ • ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา • สร้างสมดุลการพัฒนา
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑(ต่อ) วิสัยทัศน์ สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขด้วยความเสมอภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑(ต่อ) ๑. ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม กลยุทธ์ • การสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมให้ทุกคน ในสังคมไทย • การจัดบริการทางสังคมให้ทุกคนตามสิทธิขั้นพื้นฐาน • การเสริมสร้างพลังให้ทุกภาคส่วนสามารถเพิ่มทางเลือก การใช้ชีวิตในสังคม • การสร้างความสัมพันธ์ของคนในสังคม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑(ต่อ) ๒. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน • กลยุทธ์ • การปรับโครงสร้างและการกระจายตัวประชากรให้เหมาะสม • การพัฒนาคุณภาพคนไทยให้มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง • ส่งเสริมการลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพอย่างเป็นองค์รวม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑(ต่อ) ๒. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน • กลยุทธ์ • ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต มุ่งสร้างกระแสสังคมให้การเรียนรู้เป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคน • การเสริมสร้างความเข้มแข็งของสถาบันทางสังคม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑(ต่อ) ๓. ยุทธศาสตร์ความเข้มแข็งของเกษตร ความมั่นคงของ อาหารและพลังงาน กลยุทธ์ • การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นฐานการผลิตภาคเกษตร ให้เข้มแข็งและยั่งยืน • การเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพการผลิตภาคเกษตร • การสร้างมูลค่าเพิ่มผลผลิตการเกษตรตลอดห่วงโซ่การผลิต • การสร้างความมั่นคงในอาชีพและรายได้ให้แก่เกษตรกร
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ (ต่อ) กลยุทธ์ • การสร้างความมั่นคงด้านอาหารและพัฒนาพลังงานในระดับชีวภาพครัวเรือนและชุมชน • การสร้างความมั่นคงด้านพลังงานชีวภาพเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศและความเข้มแข็งของเกษตรกร • การปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่๑๑ (ต่อ) ๔. ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน กลยุทธ์ • การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่มีคุณภาพและยั่งยืน โดยสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการ • การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ให้เป็นพลังขับเคลื่อนการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ (ต่อ) กลยุทธ์ • การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันที่มีประสิทธิภาพ เท่าเทียม และเป็นธรรม • การบริหารจัดการเศรษฐกิจส่วนรวมอย่างมีเสถียรภาพ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ (ต่อ) ๕. ยุทธศาสตร์การเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม กลยุทธ์ • การพัฒนาความเชื่อมโยงด้านขนส่งและระบบโลจิสติกส์ ภายใต้กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคต่างๆ • การพัฒนาการลงทุนโดยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันระดับอนุภูมิภาค • การสร้างความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ยุทธศาสตร์ที่ ๕ (ต่อ) กลยุทธ์ • การเข้าร่วมเป็นภาคีความร่วมมือระหว่างประเทศและภูมิภาคภายใต้บทบาทที่สร้างสรรค์ • การสร้างความเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจในภูมิภาค ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การเคลื่อนย้ายแรงงานและ การส่งเสริมแรงงานในต่างประเทศ • การมีส่วนร่วมอย่างสำคัญในการสร้างสังคมนานาชาติที่มีคุณภาพชีวิต ป้องกันภัยจากการก่อการร้ายและอาชญากรรม ยาเสพติด ภัยพิบัติ และ การแพร่ระบาดของโรคภัย
ยุทธศาสตร์ที่ ๕ (ต่อ) กลยุทธ์ • การเสริมสร้างความร่วมมือที่ดีระหว่างประเทศ ในการสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีจริยธรรม ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม • การเร่งรัดใช้ประโยชน์จากข้อตกลงการค้าเสรี • การส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นฐานการลงทุนและประกอบธุรกิจ ในเอเชีย • การปรับปรุงและเสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภายในประเทศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ (ต่อ) กลยุทธ์ • การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • การปรับปรุงกระบวนทัศน์การพัฒนาและการขับเคลื่อนประเทศเพื่อเตรียมพร้อมไปสู่เศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่ำและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ๖. ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ที่ ๖ (ต่อ) กลยุทธ์ • การยกระดับขีดความสามารถในการรองรับและปรับตัว ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ • การเตรียมความพร้อมรองรับกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ ด้วยการจัดทำแผนที่และจัดลำดับพื้นที่เสี่ยงภัย ในระดับประเทศ ภูมิภาค และจังหวัด • การสร้างภูมิคุ้มกันด้านการค้าจากเงื่อนไขด้านสิ่งแวดล้อมและวิกฤตจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ยุทธศาสตร์ที่ ๖ (ต่อ) กลยุทธ์ • การเพิ่มบทบาทประเทศไทยในเวทีประชาคมโลก ที่เกี่ยวข้องกับกรอบความตกลงและพันธกรณี ด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ • การควบคุมและลดมลพิษ มุ่งลดปริมาณมลพิษทางอากาศ • การพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใสและเป็นธรรม อย่างบูรณาการ
กรอบแนวคิดในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (ต่อ)ยุทธศาสตร์ประเทศ กรมการพัฒนาชุมชน
ยุทธศาสตร์ประเทศ เป้าหมาย ตัวชี้วัด หลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง การสร้างความสามารถในการแข่งขัน (Growth & Competitiveness) - ขนาดเศรษฐกิจ - อัตราเงินเฟ้อ - การเติบโตของเศรษฐกิจ - ผลิตภาพแรงงาน - ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัว - อัตราการว่างงาน • - สัดส่วนคนจน - สัดส่วนผู้อยู่ในระบบประกันสังคม - จำนวนปีการศึกษาเฉลี่ย - ค่าเฉลี่ย O-Net ม.3 - ร้อยละของประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเบาหวาน • - ร้อยละของประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองความดัน โลหิตสูง • - ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี • - ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี • - ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการดูแลรักษา/ส่งต่อ • ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการดูแลรักษา/ส่งต่อ • อัตราตายทารก ลดความเหลื่อมล้ำ การสร้างโอกาสความเสมอภาคและ เท่าเทียมกันทางสังคม (Inclusive Growth) เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การสร้างการเจริญเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Growth) - การใช้จ่ายเงินฯ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย - ปริมาณขยะ - การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ - ร้อยละของจำนวนฟาร์มที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ - การเข้าถึงน้ำประปา - การเข้าถึงไฟฟ้า - อัตราการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตของประชากร - สัดส่วนคดียาเสพติด ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ (GrowthEffectiveness)
กรอบแนวคิดการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (ต่อ) วาระแห่งชาติ • การส่งเสริมคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริตและต่อต้านการทุจริตของคนไทย • พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด • การแก้ไขปัญหาอุทกภัยอย่างยั่งยืน • การพัฒนาโครงข่ายการคมนาคม • การปฏิรูปประเทศ
กรอบแนวคิดการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (ต่อ) แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ๒
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ๒ (ต่อ) วิสัยทัศน์ ศูนย์กลางธุรกิจข้าว สินค้าเกษตร การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและธรรมชาติ
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ๒ (ต่อ) ๑. ยุทธศาสตร์พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และกระบวนการผลิตข้าว อ้อย และมันสำปะหลัง กลยุทธ์ • พัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร • บริหารจัดการทรัพยากรดินที่ใช้เพื่อการเกษตร • พัฒนาผลิตภาพแรงงานภาคเกษตร
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ (ต่อ)ย กลยุทธ์ • ส่งเสริมองค์ความรู้/เทคโนโลยีที่ใช้ในการเกษตร • พัฒนาการลดต้นทุนการผลิต • การปรับโซนนิ่งการผลิตทางการเกษตร
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ๒ (ต่อ) ๒. ยุทธศาสตร์ ส่งเสริมและพัฒนาการแปรรูปผลผลิตและผลิตภัณฑ์เกษตรที่หลากหลายเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม กลยุทธ์ • ส่งเสริมการแปรรูปผลผลิตและผลิตภัณฑ์เกษตร ให้ได้มาตรฐาน • ส่งเสริมการผลิตและแปรรูปสินค้าเกษตรเป็นพลังงานทางเลือก
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ (ต่อ)ย กลยุทธ์ • พัฒนาขีดความสามารถด้านการแข่งขัน และการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผู้ประกอบการ
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ๒ (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ ๓ พัฒนาระบบการตลาดและกระจายผลผลิตการเกษตรและผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูป กลยุทธ์ • พัฒนาเชื่อมโยงเครือข่ายผู้ผลิต ผู้ประกอบการ ผู้ส่งออกสินค้าเกษตร • พัฒนาตลาดสินค้าเกษตรให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ (ต่อ) กลยุทธ์ • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการขนส่งและโลจิสติกส์ • นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ๒ (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว และการบริหารจัดการการท่องเที่ยง กลยุทธ์ • พัฒนาองค์ความรู้และฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรม • พัฒนาด้านการบริการและสิ่งอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยว
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ (ต่อ) กลยุทธ์ • พัฒนาสินค้าและของที่ระลึกทางการท่องเที่ยว • พัฒนาเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ๒ • ส่งเสริมการตลาดและประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ๒ (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การเตรียมความพร้อมกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ๒ เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน กลยุทธ์ • พัฒนาศูนย์กลางการเรียนรู้ประชาคมอาเซียน ของกลุ่มจังหวัดเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน • เสริมสร้างความเข้มแข็งของสถาบันการศึกษาในการพัฒนาบุคลากรภาคธุรกิจ ทัวร์ และสินค้าเกษตร
ยุทธศาสตร์ที่ ๕ (ต่อ) กลยุทธ์ • ปรับปรุงเส้นทางคมนาคมเพื่อรองรับการคมนาคมและ การขนส่ง • พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสาร ของกลุ่มจังหวัด • การสร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งในประเทศและต่างประเทศ
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด ตัวชี้วัดประเทศ 1. ขนาดเศรษฐกิจ พัฒนาโครงสร้างกระบวนการ ผลิตข้าว อ้อย และมันสำปะหลัง 2. การเติบโตของเศรษฐกิจ ส่งเสริมการแปรรูป การตลาด การขนส่งและการกระจายสินค้า 3. ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัว พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและการบริหาร 4. อัตราการว่างงาน 5. สัดส่วนคนจน สร้างความพร้อมกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2 เข้าสู่ประชาคมอาเซียน 6. ปริมาณขยะ พัฒนาระบบการตลาดและการกระจายผลผลิตเกษตร และผลิตภัณฑ์แปรรูป 7. การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ 8. ร้อยละของจำนวนฟาร์มที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน
กรอบแนวคิดในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (ต่อ) แผนพัฒนาจังหวัดนครสวรรค์
1. สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศ 4 ข้อ หลักการจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 1) สร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (Growth & Competitiveness) 2) สร้างโอกาสบนความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม (Inclusive Growth) 3) การเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Growth) 4) ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ (Government Efficiency)
ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) การสร้างความสามารถในการแข่งขัน(Growth & Competitiveness) หลุดพ้นจากประเทศปานกลาง ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ โครงสร้างพื้นฐาน/ผลิตภาพ/วิจัยและพัฒนา คน / คุณภาพชีวิต /ความรู้/ ยุติธรรม ลดความเหลื่อมล้ำ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม(Inclusive Growth) การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม(Green Growth) กฎระเบียบ
2. สอดคล้องกับยุทธศาสตร์อาเซียน 8 ยุทธศาสตร์ หลักการจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด (ต่อ) 1) การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้า บริการ การค้า และการลงทุน 2) การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองทางสังคม 3) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ 4) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
2. สอดคล้องกับยุทธศาสตร์อาเซียน 8 ยุทธศาสตร์ (ต่อ) หลักการจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด (ต่อ) 5) การพัฒนากฎหมายและกฎระเบียบ 6) การสร้างความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักถึงความสำคัญของอาเซียน 7) การเสริมสร้างความมั่นคง 8) การเพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน
1. องค์ประกอบจากรัฐบาล / หน่วยเหนือ (Top down)- ยุทธศาสตร์ประเทศ- ยุทธศาสตร์อาเซียน- ยุทธศาสตร์กระทรวง / กรม ข้อคำนึงในการจัดทำยุทธศาสตร์ในการพัฒนาจังหวัดนครสวรรค์ 2. ปัญหา / ความต้องการจากระดับพื้นที่ / ระดับล่าง (Bottom up)- ระดับตำบล / หมู่บ้าน / อปท. (แผนพัฒนาท้องถิ่น)- ระดับอำเภอ (แผนพัฒนาอำเภอ) 3. ศักยภาพของจังหวัดในด้านต่างๆ (Potential)- ด้านเศรษฐกิจ- ด้านสังคม- ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม- ด้านบริหารจัดการ
วิสัยทัศน์ (VISION)“ศูนย์กลางการผลิต การค้าข้าวและสินค้าเกษตร มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและธรรมชาติ เมืองแห่งการศึกษา สังคมมีความเข้มแข็งตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน” พันธกิจ (MISSION)1. พัฒนาและส่งเสริมคุณภาพการผลิต การตลาด ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง และสินค้าเกษตร อุตสาหกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชน 2. บริหารจัดการการท่องเที่ยว3. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในการประกอบอาชีพ การศึกษาและการสาธารณสุข 4. นำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการพัฒนาจังหวัดนครสวรรค์ 5. บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อมให้สมดุลอย่างยั่งยืน6. บำบัดทุกข์ บำรุงสุขประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี และเพิ่มประสิทธิภาพ การให้บริการประชาชน เป้าประสงค์ ( GOAL)1. มีผลผลิตข้าวและสินค้าเกษตร อุตสาหกรรมที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน 2. เป็นศูนย์กลางแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและธรรมชาติในเขต ภาคเหนือตอนล่าง 2 3. ประชาชนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ มีสุขภาวะและคุณภาพชีวิต ที่ดี มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข 4. ชุมชนและประชาชนมีอาชีพและรายได้ที่เพียงพอกับการดำรงชีพ5. มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์และมีสภาพแวดล้อมที่ดี6. การบริหารจัดการภาครัฐเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลและ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ยุทธศาสตร์ที่ 1:การสร้างมูลค่าเพิ่มทางการเกษตร การค้า และอุตสาหกรรมการเกษตรที่สมดุล ส่งเสริมกลุ่มและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม กลางน้ำ ปลายน้ำ ต้นน้ำ Value Chain โครงการพัฒนาเส้นทางคมนาคมเพื่อขนส่งสินค้าทางการเกษตร โครงการส่งเสริมตลาดสินค้าและบริการจังหวัดนครสวรรค์ โครงการ โครงการส่งเสริมการแปรรูปและศูนย์จำหน่ายผลิตปลา โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ผลิตผู้ประกอบการด้านการผลิต การบรรจุภัณฑ์ และการตลาด ผลิตภัณฑ์ OTOP) โครงการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร โครงการพัฒนาตลาดกลางข้าวสาร โครงการส่งเสริมและพัฒนาการผลิต (ข้าว มันสำปะหลัง อ้อย ข้าวโพด โครงการศึกษาความเหมาะสม การก่อสร้างไอซีดีนครสวรรค์ โครงการพัฒนา OTOP (Quadtant : CD ) และวิสาหกิจเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์สู่สากล โครงการส่งเสริมผลิตด้านปศุสัตว์ โครงการขนส่งทางน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาและน่าน โครงการส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตร โครงการส่งเสริมผลิตด้านประมง
ยุทธศาสตร์ที่ 2 :ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและธรรมชาติ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ Value Chain โครงการ โครงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและธรรมชาติ โครงการส่งเสริมด้านการตลาด การประชาสัมพันธ์ และการบริการการท่องเที่ยว โครงการส่งเสริมกิจกรรมตามปฏิทินการท่องเที่ยวประจำปีและงานประเพณีสำคัญ
พัฒนาระบบบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 3:การพัฒนาคนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีคุณธรรมนำความรู้ และเกิดความผาสุก กลางน้ำ ปลายน้ำ ต้นน้ำ Value Chain โครงการ โครงการส่งเสริมมหกรรมวิชาการสู่ประชาคมอาเซียน โครงการส่งเสริมอาชีพและสวัสดิการสังคม โครงการคลังปัญญา/สร้างคุณค่าภูมิปัญญาผู้สูงอายุ โครงการพัฒนาปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการศึกษาสู่อาเซียน (A) โครงการสุขภาพดีวิถีไทย (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง) โครงการส่งเสริมวัฒนธรรม/ประเพณี โครงการส่งเสริมการเรียนรู้โดยครูสอนพิเศษ (ม.3) โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด และการจัดระเบียบสังคม ด้านความมั่นคง และอุบัติเหตุ โครงการศูนย์การเรียนรู้เฉพาะความพิการประจำอำเภอ จังหวัดนครสวรรค์ โครงการพัฒนาระบบการบริการสาธารณสุข การศึกษาด้านสาธารณสุข และการกีฬา โครงการส่งเสริมด้านการศึกษา โครงการจัดการศึกษาเพื่อการมีงาน
บริหารจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 4: การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กลางน้ำ : กลุ่ม/องค์กร ปลายน้ำ : ปัจจัยการผลิต ต้นน้ำ : ชุมชน Value Chain โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการพัฒนาศักยภาพศูนย์เรียนรู้/ปราชญ์ชาวบ้าน เตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน โครงการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนด้วยกระบวนการแผนชุมชน โครงการ โครงการสร้างเครือข่ายเยาวชนและการส่งเสริมอาชีพ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้นำชุมชนด้านการบริหารจัดการ โครงการพัฒนาศักยภาพครัวเรือนต้นแบบการดำเนินชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายอาชีพและการส่งเสริมการประกอบอาชีพ ฃ โครงการส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากแผนชุมชน โครงการส่งเสริมและเพิ่มช่องทางการตลาดเครือข่ายกลุ่มอาชีพและผลิตภัณฑ์ชุมชน โครงการประชาสัมพันธ์ ติดตาม โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลชุมชน โครงการพัฒนาชุมชนด้วยองค์ความรู้ใหม่ทางด้านวิทยาศาสตร์และนวัตกรรม โครงการด้านการถ่ายทอดความรู้ โครงการประชาสัมพันธ์โครงการอันเนื่องจากพระราชดำริ v
ยุทธศาสตร์ที่ 5:การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพอย่างยั่งยืน กลางน้ำ ปลายน้ำ ต้นน้ำ Value Chain โครงการปลูกป่าและการอนุรักษ์ป่าไม้ โครงการลดปริมาณขยะมูลฝอยในชุมชน โครงการส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โครงการ โครงการอนุรักษ์ฟื้นฟูแหล่งน้ำ โครงการส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกำจัดขยะ โครงการจัดตั้งศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนจังหวัดนครสวรรค์ โครงการอนุรักษ์พลังงานและพัฒนาพลังงานทดแทน โครงการจัดทำแผนแม่บทในการจัดการขยะมูลฝอยในจังหวัดนครสวรรค์ โครงการฝึกอบรมเครือข่ายอาสาสมัครเตือนภัย 2} โครงการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม โครงการก่อสร้างเขื่อนป้องกันตลิ่งพังและป้องกันน้ำท่วม
ยุทธศาสตร์ที่ 6 :การเสริมสร้างธรรมาภิบาลและการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พัฒนาสนับสนุนเครื่องมือเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสาร ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ Value Chain โครงการ โครงการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำอุปโภค-บริโภค โครงการพัฒนาคุณภาพบุคลากรและระบบงานบริหารประชาชนพร้อมรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โครงการจังหวัดอัจฉริยะ (Smart Province) จังหวัดนครสวรรค์ โครงการเสริมสร้างความรู้ “การใช้ข้อมูลสถิติผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) ในการวางแผนพัฒนาจังหวัด โครงการด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการประชาชน โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและประโยชน์สุขของประชาชนจังหวัดนครสวรรค์ โครงการจัดทำข้อมูลสถิติและสำรวจความพึงพอใจ โครงการจัดทำสถิติผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดนครสวรรค์ (GPP) โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
4. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดนครสวรรค์กับประเด็นที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์ประเทศ ยุทธศาสตร์อาเซียน วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ การสร้างมูลค่าเพิ่มทางการเกษตร การค้าและอุตสาหกรรมการเกษตรที่สมดุล ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เพิ่มขีดวามสามารถ ในการแข่งขัน ศูนย์กลางการผลิต การค้าข้าว และสินค้าเกษตร - ตลาดเดียวและฐานการผลิตเดียวกัน- เคลื่อนย้าย สินค้า บริการ เงินทุน การลงทุน แรงงานฝีมือ- ลดช่องว่างระดับการพัฒนาของประเทศสมาชิก- ส่งเสริมความร่วมมือ สร้างอำนาจต่อรองในเวทีเศรษฐกิจโลก การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและธรรมชาติ มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและธรรมชาติ การพัฒนาคนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีคุณธรรมนำความรู้และเกิดความผาสุก เมืองแห่งการศึกษาสังคมมีความเข้มแข็งตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เจริญเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC) บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพอย่างยั่งยืน - การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์- การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม- ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม- การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน- การลดช่องว่างทางการพัฒนา สร้างสมดุล การบริหารจัดการภาครัฐ พร้อมรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การเสริมสร้างธรรมาภิบาลและ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
กรอบแนวคิดในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (ต่อ) ยุทธศาสตร์การพัฒนา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตจังหวัดนครสวรรค์ พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๕๙