370 likes | 599 Views
การวิเคราะห์ ความต้องการของเทคโนโลยี. การใช้เทคโนโลยีโทรคมนาคมเชิงธุรกิจ. Telecommunications. Networks. Field Sales. Internet. Consumer. In-office. ความสัมพันธ์ของ ต้นทุน ปริมาณ และกำไร. คงที่ + ผันแปร. กำไร = รายได้ - ค่าใช้จ่าย. ปริมาณขาย X ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย.
E N D
การวิเคราะห์ ความต้องการของเทคโนโลยี
การใช้เทคโนโลยีโทรคมนาคมเชิงธุรกิจการใช้เทคโนโลยีโทรคมนาคมเชิงธุรกิจ Telecommunications Networks Field Sales Internet Consumer In-office
ความสัมพันธ์ของ ต้นทุน ปริมาณ และกำไร คงที่ + ผันแปร • กำไร = รายได้ - ค่าใช้จ่าย ปริมาณขาย X ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย ปริมาณขาย X ราคาขายต่อหน่วย หรือ Q X P
ความสัมพันธ์ของ ต้นทุน ปริมาณ และกำไร (ต่อ) Volume • จากข้อมูลต่อไปนี้ จงคำนวณหาผลกำไร ของกิจการ • ตัวอย่างที่ 1 ขายสินค้าได้ 2,000 หน่วย ในราคา @ 10 บาท มีค่าใช้จ่ายในการขายคงที่ ทั้งหมด 3,000 บาท มีค่าใช้จ่ายในการขาย ผันแปรหน่วยละ 2 บาท จงคำนวณหากำไรสุทธิที่เกิดขึ้น • ตัวอย่างที่ 2 ขายสินค้าได้ 5,000 หน่วย ในราคา @ 10 บาท มีค่าใช้จ่ายในการขายคงที่ ทั้งหมด 3,000 บาท มีค่าใช้จ่ายในการขาย ผันแปรหน่วยละ 2 บาท จงคำนวณหากำไรสุทธิที่เกิดขึ้น 13,000 37,000
ความสัมพันธ์ของ ต้นทุน ปริมาณ และกำไร (ต่อ) Cost • จากตัวอย่างที่ 2 ถ้าต้นทุนคงที่เพิ่มขึ้นเป็น 5,000 บาท จะมีผลเช่นใดกับกำไรสุทธิ • ถ้ากิจการเพิ่มราคาขายเป็นหน่วยละ 12 บาท จะกระทบเช่นใดกับกำไรสุทธิ • ถ้า ถ้า ถ้า และ ถ้า……………………... 32,000 Price 47,000
สรุปได้ว่า… ในสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำการมี FC มาก และมี VC น้อย จะไม่เป็นผลดีกับกิจการ และในทางกลับกัน ถ้าเศรษฐกิจรุ่งเรือง การมี FC มาก และมี VC น้อย จะส่งผลดีกับกิจการ
องค์ประกอบของการวิเคราะห์ CVP • 1. ปริมาณขาย (Volume) • 2. ราคาขายต่อหน่วย (Unit selling Prices) • 3. ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย (Variable cost per unit) • 4. ต้นทุนคงที่รวม (Total Fixed Costs) • 5. สัดส่วนการขาย (Sales mix)
สมมติฐานของการวิเคราะห์ CVP • 1. พฤติกรรมต้นทุนและรายได้ เป็นความสัมพันธ์กันแบบเส้นตรง ภายในช่วงกิจกรรมหนึ่ง • 2. ต้นทุนที่นำมาวิเคราะห์นั้นจะมีเฉพาะ ผันแปร กับ คงที่ เท่านั้น • 3. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อต้นทุน มีเพียงระดับกิจกรรมที่เปลี่ยนแปลงเท่านั้น • 4. ไม่มีสินค้าคงเหลือต้นงวด และ สิ้นงวด • 5. สัดส่วนการขายของสินค้าแต่ละชนิด คงที่
กำไรส่วนเกิน (Contribution Margin : CM) • เป็นรายได้ ส่วนที่เหลือหลังจากหักต้นทุนผันแปรแล้ว คำนวณได้จาก • กำไรส่วนเกิน = ขาย - ต้นทุนผันแปร กำไรส่วนเกิน เป็นกำไรส่วนที่จะนำไปชดเชยกับต้นทุนคงที่ นั่นคือ ถ้า… กำไรส่วนเกิน > ต้นทุนคงที่ = มีกำไร แต่ถ้า กำไรส่วนเกิน < ต้นทุนคงที่ = ขาดทุน
ความสามารถของกำไรส่วนเกินความสามารถของกำไรส่วนเกิน สมมติ กิจการขายสินค้าหน่วยละ 10 บาท มีต้นทุนผันแปร หน่วยละ 2 บาท มีค่าใช้จ่ายคงที่ ทั้งหมด 6,000 บาท
อัตราส่วนกำไรส่วนเกิน (Contribution Margin Ratio) • อัตราส่วนกำไรส่วนเกิน= กำไรส่วนเกินต่อหน่วย / ราคาขายต่อหน่วย • จะนำไปใช้กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงในยอดขาย กิจการจะสามารถทราบได้ว่า ณ ยอดขายที่เปลี่ยนแปลงไปนี้ กิจการจะมีกำไรส่วนเกินเกิดขึ้นเท่ากับเท่าใด??
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break - Even Analysis) • หมายถึง จุดที่ทำให้รายได้รวมเท่ากับต้นทุนรวม หรือ • จุดที่กำไรเท่ากับ ศูนย์ วิธีการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน 1. ใช้สมการกำไร 2. ใช้กำไรส่วนเกิน 3. วาดกราฟ
BE - Profit Equation • จาก Profit = TR - TC • จะได้ BE TR = TC • หรือ 0 = TR - TC • TR = TVC + TFC • PX = VX + FC • PX - VX = FC • X(P-V) = FC • X = FC/P-V
BE - Contribution Margin • จุดคุ้มทุน(หน่วย) = ต้นทุนคงที่ / กำไรส่วนเกินต่อหน่วย • จุดคุ้มทุน (บาท) = ต้นทุนคงที่ / อัตราส่วนกำไรส่วนเกิน
BE - Graph • 1. กราฟ ต้นทุน ปริมาณ กำไร • 2. กราฟกำไร
การกำหนดเป้าหมายกำไรที่ต้องการการกำหนดเป้าหมายกำไรที่ต้องการ • 1. สมการ • ปริมาณขายที่ต้องการ =ต้นทุนผันแปรรวม + ต้นทุนคงที่รวม + กำไรที่ต้องการ • 2. กำไรส่วนเกิน • ปริมาณขายที่ต้องการ = ต้นทุนคงที่รวม + กำไรที่ต้องการ • กำไรส่วนเกินต่อหน่วย
เมื่อปัจจัยต่างๆ เปลี่ยนแปลงไป • ตัวอย่าง บ. CAT จำกัด มีข้อมูลดังต่อไปนี้ • ราคาขายต่อหน่วย 500 บาท • ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย 200 บาท • ต้นทุนคงที่รวม 300,000 บาท • จุดคุ้มทุน 1,000 หน่วย หรือ 500,000 บาท
เมื่อปัจจัยต่างๆ เปลี่ยนแปลงไป • - ถ้ากิจการเพิ่มราคาขายขึ้นอีก 10% จะส่งผลเช่นใดกับจุดคุ้มทุน • - ถ้าต้นทุนคงที่เพิ่มขึ้น 20% และต้นทุนผันแปรลดลง 20% จะส่งผลเช่นใดกับจุดคุ้มทุน • - ถ้าต้องการกำไร 100,000 บาท ต้องขายสินค้าให้ได้กี่หน่วย? • - ถ้าต้องการกำไรหลังภาษี 100,000 บาท ต้องขายสินค้าให้ได้กี่หน่วย?
สรุปได้ว่า… Price Unit VC FC เพิ่ม ลด เพิ่ม เพิ่ม : BE แปรผันกับต้นทุน ลด เพิ่ม ลด ลด : BE แปรผกผันกับ ต้นทุน
ส่วนเกินที่ปลอดภัย (Margin Of Safety) • ส่วนเกินที่ปลอดภัย = • ยอดขายจริง (ตามงบประมาณ) - ยอดขาย ณ จุดคุ้มทุน • อัตราส่วนเกินที่ปลอดภัย = • ส่วนเกินที่ปลอดภัย (บาท) • ยอดขายจริง (ตามงบประมาณ)
การวิเคราะห์ BE สำหรับกิจการที่ขายสินค้าหลายชนิด • 1. คำนวณหากำไรส่วนเกินถัวเฉลี่ยรวม • 2. คำนวณหากำไรส่วนเกินถัวเฉลี่ยต่อหน่วย • 3. คำนวณหาจุดคุ้มทุนเป็นหน่วย รวม • 4. คำนวณหาจุดคุ้มทุนเป็นหน่วย ของสินค้าแต่ละชนิด • 5. คำนวรหาจุดคุ้มทุนเป็นจำนวนเงิน ของสินค้าแต่ละชนิด
โครงสร้างต้นทุน และการวัดความเสี่ยงกับจุดคุ้มทุน • โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure) เป็นการแสดงให้เห็นว่าต้นทุนของกิจการประกอบด้วยต้นทุนคงที่ และ ต้นทุนผันแปรเป็นสัดส่วนอย่างไร • - กิจการที่ให้บริการโครงสร้างต้นทุนจะเน้นไปที่ต้นทุนผันแปร • - กิจการที่ผลิตสินค้าหรือใช้เทคโนโลยีสูง โครงสร้างต้นทุนจะเน้นไปที่ต้นทุนคงที่
โครงสร้างต้นทุน และการวัดความเสี่ยงกับจุดคุ้มทุน (ต่อ) • - โครงสร้างต้นทุนมีผลกระทบกับกำไรสุทธิ • # กิจการที่มีโครงสร้างเป็นต้นทุนคงที่สูง จะมีความเสี่ยงจากการดำเนินงานมาก (Operating Leverage) • # เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้กิจการที่มีต้นทุนคงที่มากจะถูกกระทบมาก ทั้งด้านบวกและด้านลบ
กิจการควรจะมีต้นทุนตัวใดมากกว่ากัน ?? • FCVSVC
โจทย์ตัวอย่าง... • สำนักงานห้างสรรพสินค้า เปิดจองพื้นที่สำหรับขายโทรศัพท์เคลื่อนที่กำหนดส่วนแบ่งดังนี้ • ค่าเช่าพื้นที่คิดเป็นเดือนละ 33,000 บาท • - ค่าเช่าพื้นที่คิดเป็นร้อยละ 8 จากยอดขาย • ทางสำนักฯ ให้คุณเลือกว่าจะเช่าพื้นที่แบบใด คำถาม 1. ถ้าคุณคิดว่าคุณจะสามารถสินค้าและบริการได้วันละ15,000 บาท คุณควรจะเลือกจ่ายค่าเช่าพื้นที่วิธีใด (1 เดือน มี 30 วัน) 2. กิจการต้องขายสินค้าให้ได้อย่างน้อยเดือนละกี่บาท จึงควรจะเลือกจ่ายค่าเช่าแบบอัตราร้อยละจากยอดขาย
# กิจการต้องขายให้ได้วันละกี่บาท • #ราคาเฉลี่ยเครื่องโทรศัพท์5000 บาท จะต้องขายให้ได้วันละกี่เครื่อง • # ถ้ามีสินค้า 2 ประเภท คือ โทรศัพท์-อุปกรณ์และบริการโดยโทรศัพท์และอุปกรณ์มีกำไรร้อยละ8 และคิดเป็นร้อยละ40ของรายได้ทั้งหมดรายได้จากการบริการร้อยละ3 ให้หาปริมาณรายรับทั้งหมดที่จุดคุ้มทุน
กรณีศึกษาระบบการจัดการสารสนเทศกรณีศึกษาระบบการจัดการสารสนเทศ • ส่วนประกอบของโครงการ • ชื่อโครงการ • ผู้รับผิดชอบโครงการ • วัตถุประสงค์ • ความเป็นมา • สภาพแวดล้อมของโครงการ • รายงานการวิเคราะห์ทางการเงิน • ข้อกำหนดทางเทคนิค • แผนการดำเนินงาน
ชื่อโครงการ • ชื่อโครงการที่ดีต้องประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้ • ทำอะไร • ทำอย่างไร • ทำที่ใหน
วัตถุประสงค์ • บอกให้ทราบรายละเอียดที่ต้องการและผลจากการดำเนินการดังกล่าว
ความเป็นมาและความสำคัญความเป็นมาและความสำคัญ • ความเป็นมาและความสำคัญต้องสะท้อนถึงเหตุผลของโครงการดังกล่าวและแจกแจงถึงความสำคัญของโครงการนั้นอย่างชัดเจน
ความเป็นมาและความสำคัญความเป็นมาและความสำคัญ • 1. ความเป็นมา • กสท. พัฒนาระบบ CDMA ใน กทม. • ต่างจังหวัดยังไม่มีระบบดังกล่าว • กสท. ไม่มีเงินก้อนลงทุนครั้งเดียว • 2. ความสำคัญ • การสื่อสารที่ดีต้องเชื่อมโยงระหว่างกันได้ • ทุกคนในประเทศต้องมีสิทธิเท่าเทียมกัน
สภาพแวดล้อมของโครงการสภาพแวดล้อมของโครงการ • ต้องบอกถึงสภาพแวดล้อมซึ่งต้องประกอบด้วย • สภาพแวดล้อมทางสังคม • สภาพแวดล้อมทางเทคนิค • สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
รายการวิเคราะห์ทางการเงินรายการวิเคราะห์ทางการเงิน • ประมาณการรายรับ • ประมาณการรายจ่าย • วิเคราะห์จุดคุ้มทุน • วิเคราะห์ความเสี่ยง
ข้อกำหนดทางเทคนิค • การบริหารโครงการขนาดใหญ่ • ทำเอง • NMT470 โทรศัพท์พื้นฐาน • TURN KEY • AIS DTAC • เช่า • CDMA