1 / 58

วัตถุประสงค์การแทรกแซงระบบเศรษฐกิจของภาครัฐ

วัตถุประสงค์การแทรกแซงระบบเศรษฐกิจของภาครัฐ. วัตถุประสงค์ในการแทรกแซงระบบเศรษฐกิจ. 1 . การจัดสรรทรัพยากรใหม่ ( Reallocation of Resources ). 2 . รักษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจ ( Economic Stability ). 3 . สนับสนุนการเติบโตทางเศรษฐกิจ ( Economic Growth ).

Download Presentation

วัตถุประสงค์การแทรกแซงระบบเศรษฐกิจของภาครัฐ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วัตถุประสงค์การแทรกแซงระบบเศรษฐกิจของภาครัฐวัตถุประสงค์การแทรกแซงระบบเศรษฐกิจของภาครัฐ

  2. วัตถุประสงค์ในการแทรกแซงระบบเศรษฐกิจวัตถุประสงค์ในการแทรกแซงระบบเศรษฐกิจ 1. การจัดสรรทรัพยากรใหม่ (Reallocation of Resources) 2. รักษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจ (Economic Stability) 3. สนับสนุนการเติบโตทางเศรษฐกิจ (Economic Growth) 4. สนับสนุนให้มีการจ้างงานเต็มที่ (Full Employment) 5. สร้างความเท่าเทียมในเรื่องรายได้แก่ประชาชน (Equal Distribution of Income ) 6. เสริมสร้างคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม

  3. Fiscal Policy Overall Level of Economic Activities Monetary Policy Exchange-rate Policy Competitive Policy Allocation of Resources Across Activities Industrial Policy Labour Market Policy Trade Policy Income Redistribution Distribution of Resources Across Regions/Individuals Education Health นโยบาย, เครื่องมือ และวัตถุประสงค์ Policy Type Policy Instruments Objectives Macroeconomic Policy Microeconomic Policy Social Policy

  4. การจัดสรรทรัพยากร (Allocation of Resources) กลไกราคา (price mechanism) กลไกตลาด (market mechanism) กลไกของรัฐ (state mechnism) Central planning efficiency efficiency

  5. กรณีที่กลไกตลาดจัดสรรไม่มีประสิทธิภาพ (Market Failures) 1. Monopoly 2. Public Goods 3. Externalities 4. Natural monopolies

  6. โครงสร้างตลาด (Market Structures) Monopoly Perfect Competition Monopolistic Competition Oligopoly

  7. ข้อเสียของการผูกขาด 1. ราคาสูงเกินไป และปริมาณผลิตน้อยเกินไป 2. มีการจ้างงานน้อยเกินไป 3. แรงกดดันให้เกิดภาวะเงินเฟ้อ 4. สวัสดิการ (welfare) ของสังคมลดลง

  8. พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 หมวด 3: การป้องกันการผูกขาด มาตรา 25 - 33 www.dit.go.th

  9. A Framework for Market (Industrial) Analysis structures conducts performance production/cost pricing profit growth market structures advertising potential for competion in global market sales promotion diversification integration

  10. Diversification and Integration industry A0 backward integration industry A1 Industry C Industry A Industry B industry A2 forward integration industry A3

  11. การวัดโครงสร้างของตลาด 1. Concentration Ratio (CR) 2. Concentration Curve 3. Lorenz Curve 4. Gini Coefficient 5. Herfindahl Index

  12. Concentration Ratio (CR) ส่วนแบ่งตลาด (market share) ที่ครอบครองโดยบริษัทขนาดใหญ่ จำนวนหนึ่ง เช่น 2 หรือ 4 หรือ 8 บริษัทใหญ่ market share of 4 biggest firms total market share market share of 8 biggest firms total market share

  13. สินค้าสาธารณะ (Public Goods) Exclusion Non exclusion private goods semi public goods Rival consumption semi public goods public goods Nonrival consumption

  14. Externalities positive externaliites negative externaliites social cost social benefit

  15. เป้าหมายเรื่องเสถียรภาพทางเศรษฐกิจเป้าหมายเรื่องเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

  16. ความหมายของเสถียรภาพทางเศรษฐกิจความหมายของเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ (economic stability) ความสมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทานในแต่ละตลาด ระดับราคาไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง

  17. เสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจ (Economic Stability) เสถียรภาพภายใน (Internal stability) เสถียรภาพภายนอก (external stability) เสถียรภาพด้านราคาสินค้าและบริการ เสถียรภาพอัตราแลกเปลี่ยน ดัชนีราคาผู้บริโภค (consumer price index)

  18. เสถียรภาพภายนอก ความสมดุลในตลาด ปริวรรตเงินตรา อัตราแลกเปลี่ยน

  19. เสถียรภาพภายใน ความสมดุลในตลาดสินค้า ระดับราคาสินค้า inflation and deflation

  20. เสถียรภาพด้านผลผลิต เสถียรภาพด้านราคา aggregate demand and aggregate supply

  21. เสถียรภาพภายในและภายนอกเสถียรภาพภายในและภายนอก นอกจากนั้นเสถียรภาพเศรษฐกิจด้านต่างประเทศอยู่ในเกณฑ์มั่นคง โดยพิจารณาจากหนี้ต่างประเทศลดลงต่อเนื่อง และเงินสำรองระหว่าง ประเทศอยู่ในระดับสูง ในขณะที่อัตราเงินเฟ้อที่วัดจากดัชนีราคาทั่วไป และดัชนีราคาสินค้าพื้นฐานอยู่ในระดับต่ำ "คณะกรรมการ เห็นว่าจากอัตราเงินเฟ้อที่อยู่ระดับต่ำ นโยบายการเงินยังจำเป็นต้อง อยู่ในทิศทางที่เอื้อให้เศรษฐกิจไทยสามารถฟื้นตัวได้อย่างต่อเนื่อง และการลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ผ่านมาเพียงพอ ในการส่ง สัญญาณต่อตลาด ให้ทราบถึงแนวทางดังกล่าว โดยอัตราดอกเบี้ย ในตลาดได้ปรับลดลง สอดคล้องกับทิศทางของนโยบาย และเป็นไปตาม ภาวะสภาพคล่อง และความจำเป็นของแต่ละธนาคาร" ดร.บัณฑิต กล่าว ที่มา กรุงเทพธูรกิจ 4 มิถุนายน 2545

  22. Thailand’s Growth Rates of Real GDP 2513 - 2544 aggregate demand potential GDP growth actual GDP growth inflationarygap and deflationary gap

  23. นโยบายการเงินภายใต้เป้าหมาย Inflation Targeting ธนาคารแห่งประเทศไทยเริ่มใช้นโยบายการเงินภายใต้เป้าหมายเงิน เฟ้อ ตั่งแต่เดือนพฤษภาคม 2543 โดยส่งสัญญาณนโยบายการเงิน ผ่านเครื่องมือ อัตราดอกเบี้ยอายุ 14 วัน ในตลาดซื้อคืน ปัจจุบัน ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดไว้ที่ 2 % ทั้งนี้มีคณะกรรมการ นโยบายการเงิน (Monetary Policy Board) เป็นผู้กำหนด

  24. ช่วงเงินฝืด

  25. ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน (Core Consumer Price Index: Core CPI) ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน คือ ดัชนีราคาผู้บริโภคชุดทั่วไปที่หักรายการสินค้า กลุ่มอาหารสด ( 85 รายการ) และสินค้ากลุ่มพลังงาน ( 6 รายการ) รวมราย การสินค้าที่ หักออก 91 รายการ จากจำนวนทั้งสิ้น 326 รายการ รายการ สินค้าที่หักออกคิดเป็น ร้อยละ 27.9 ของค่าใช้จ่ายทั้งหมดของครัวเรือนใน ปี 2542 สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า ได้เริ่มคำนวณดัชนีราคาพื้นฐานครั้งแรกเมื่อปี 2528 โดยใช้ฐานปี 2537 อัตราการเปลี่ยนแปลงของ core CPI เรียกว่า core inflation www.price.moc.go.th

  26. การเพิ่มขึ้นของอุปสงค์รวมการเพิ่มขึ้นของอุปสงค์รวม อุปสงค์ส่วนเกิน ระดับราคาสินค้าเพิ่มขึ้น อัตราแลกเปลี่ยน เสื่อมค่า การคาดคะเนการเพิ่มขึ้น ของราคาและค่าจ้าง ราคาวัตถุดิบเพิ่มสูงขึ้น การเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าเข้า การเพิ่มในกำไรส่วนเกิน การเพิ่มใน ค่าจ้าง สาเหตุเงินเฟ้อ: Demand Pull การเพิ่มปริมาณเงิน อุปทานปรับตัวช้า

  27. เป้าหมายการเติบโต (Economic Growth)

  28. Demand Management Consumption Investment Government Spending Net Export Labour Capital Natural Resources Technolocy Infrastructures Supply Management Demand Management V.S. Supply Management GDP

  29. เป้าหมายเศรษฐกิจมหภาค รัฐบาล ดร.ทักษิณ ที่มา : หนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจ 19 กรกฎาคม 2544

  30. Thailand’s Growth Rates of Real GDP 2513 - 2544

  31. เป้าหมายการเติบโตทางเศรษฐกิจเป้าหมายการเติบโตทางเศรษฐกิจ Keynesians : Demand management Classic and the Gang: Supply Management short- run policy long-run policy

  32. เป้าหมายเรื่องการจ้างงานเต็มที่เป้าหมายเรื่องการจ้างงานเต็มที่

  33. www.nso.go.th

  34. เป้าหมายการจ้างงานเต็มที่ (Full Employment) Good Investment Climate Growth Job Creation

  35. สำนักงานสถิติแห่งชาติ (National Statistical Office) www.nso.go.th สำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (National Economic and Social Development Board: NESDB) www.nesdb.go.th

  36. A Good Investment Climate 1. Sound Macroeconomic Management stable economy social and political stability 2. Good Governance corporate governance 3. High-quality Infrastructure basic infrastructure effective basic services

  37. Good Governance 1. Corruption 2. Transparency 3. Accountability 4. Regulatory burden 5. Political instability and violence Governance indicators Decentralization indicators

  38. เป้าหมายการกระจายรายได้เป้าหมายการกระจายรายได้

  39. Economic Indicators for Income Distribution 1. Per Capita Income 2. Lorenz Curve 3. Gini Coefficient

  40. ASEAN Countries’ Per Capita Income Countries Per Capital Income ($) Brunie 29,610 Singapore 24,400 Malaysia 3,400 Thailand 1,960 Philippines 1,020 Indonesia 580 Vietnam 370

  41. World Bank’s Classification of Countries Classifications GNI Per Capital (US$) Low Income less than 755 Lower Middle Income 756 - 2,995 Upper Middle Income 2,996 - 9,265 High Income more than 9,266 source: World Bank, World Development Database http://www.worldbank.org/data/databytopic/GNNPC.pdf

  42. Lorenz Curve % สะสมของรายได้ 50 A 10 B 50 %สะสมครัวเรือน (จนไปรวย)

  43. Gini Coefficient G-C = พื้นที่ระหว่างเส้นทะแยงมุมและ Lorenz Curve พื้นที่สามเหลี่ยม 0 < G -C < 1 Equal income distribution Unequal income distribution

  44. Current Income Share of Households byQuintile Groups of Households and The Gini Coefficient Quintile Group 199019921994199619982000 15.95.45.65.75.95.5 29.38.99.19.29.68.8 313.213.113.613.513.713.2 421.220.721.321.521.021.5 550.451.950.450.149.851.0 Gini Coefficient 0.4290.4450.4310.4290.4210.439 Per Capita Current 1,3301,7852,1662,8903,2833,321 Income (Baht/month) source: www.nesdb.go.th

  45. The Gini Coefficient of Household Income Distribution by Region Region 199019921994199619982000 Bangkok and 0.3560.3970.3360.3830.3470.362 Provinces in Vicinity Central 0.3950.3530.3790.3460.3510.356 Northeast 0.3370.3790.3900.3910.3670.395 South 0.3710.3770.4020.3670.3820.379 source: www.nesdb.go.th

  46. ดัชนีวัดการกระจายรายได้ดัชนีวัดการกระจายรายได้ ปัจจุบันเงินฝากทั้งระบบมีอยู่ประมาณ 5 ล้านล้านบาท เป็นผู้ฝากเงินรายย่อย ที่มีเงินฝากต่ำกว่าหนึ่งล้านบาทมากถึง 98% แต่มีจำนวนเงินฝากรวมเพียง 20% ของเงินฝากทั้งระบบ ขณะที่ผู้ฝากเงินรายใหญ่ (ที่มีเงินฝากมากกว่าหนึ่งล้านบาท) ซึ่งมีจำนวนเพียง 2% ของผู้ฝากเงินทั่วประเทศ กลับมีวงเงินฝากรวมถึง 80%

  47. www.molsw.go.th

More Related