1 / 13

รองศาสตราจารย์บุญเสริม หุตะแพทย์ สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ทีมสหวิชาชีพกับ ความรุนแรงในครอบครัว. รองศาสตราจารย์บุญเสริม หุตะแพทย์ สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. โปรดให้ข้อมูลเกี่ยวกับการทำงานของท่าน. ท่านได้ทำงานเกี่ยวกับความรุนแรงต่อเด็กและสตรี และความรุนแรงในครอบครัวมาแล้วเป็นเวลา.................ปี..............เดือน

quinta
Download Presentation

รองศาสตราจารย์บุญเสริม หุตะแพทย์ สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทีมสหวิชาชีพกับ ความรุนแรงในครอบครัว รองศาสตราจารย์บุญเสริม หุตะแพทย์ สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

  2. โปรดให้ข้อมูลเกี่ยวกับการทำงานของท่านโปรดให้ข้อมูลเกี่ยวกับการทำงานของท่าน • ท่านได้ทำงานเกี่ยวกับความรุนแรงต่อเด็กและสตรี และความรุนแรงในครอบครัวมาแล้วเป็นเวลา.................ปี..............เดือน • ท่านเคยได้รับแจ้งเหตุความรุนแรงในครอบครัวแล้วหรือไม่ • เคย จำนวน .................ราย • ไม่เคย • ท่านเคยทำคดีความรุนแรงในครอบครัวแล้วหรือไม่ • เคย จำนวน .................คดี • ไม่เคย • ท่านมีความเห็นต่อพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 อย่างไร • ชอบ โปรดระบุส่วนที่ชอบ ......................................................................................................... • ไม่ชอบ เพราะ ............................................................................................................................ • ท่านรู้สึกอย่างไรต่อการทำงานเกี่ยวกับความรุนแรงในครอบครัวตามบทบาทของตนเอง • ชอบ โปรดระบุส่วนที่ชอบ ......................................................................................................... • ไม่ชอบ เพราะ ............................................................................................................................

  3. นิยาม ทีมสหวิชาชีพ • กลุ่มบุคคลที่ได้รับการฝึกอบรม มีความรู้ มีทักษะ ความสามารถเฉพาะด้านที่แตกต่างกันมาทำงานร่วมกัน • มุ่งแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและกระบวนการ บนพื้นฐานของวัตถุประสงค์และเป้าหมายเดียวกัน • มีการสื่อสารกันอย่างต่อเนื่องในการประเมินสภาพการณ์ของปัญหา • ร่วมรับผิดชอบตั้งแต่ต้นจนจบ

  4. องค์ประกอบของทีมสหวิชาชีพองค์ประกอบของทีมสหวิชาชีพ

  5. รูปแบบการทำงานของทีมสหวิชาชีพรูปแบบการทำงานของทีมสหวิชาชีพ

  6. บทบาทของทีมสหวิชาชีพ รักษาพยาบาล เก็บวัตถุพยาน ประสาน ส่งต่อ ดำเนินคดี ให้คำปรึกษา ลงบันทึกประจำวัน ช่วยเหลือด้านกฎหมาย ประสาน ส่งต่อ ที่พัก/อาหาร/เด็ก ประสาน ส่งต่อ ประสาน ส่งต่อ แนะนำ ปรึกษา

  7. สัมมนากลุ่มย่อย • ประสบการณ์การปฏิบัติงานประสานส่งต่อในการบริการช่วยเหลือผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว • ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานบริการให้ความช่วยเหลือผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว • พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 แก้ไขปัญหาได้จริงหรือไม่ เพราะเหตุใด • ความเห็นต่อบทบาทของทีมสหวิชาชีพในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว • ข้อเสนอแนะการแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวโดยใช้กลไกทีมสหวิชาชีพ

  8. หลักการใช้กฎหมายในการปฏิบัติงานของทีมสหวิชาชีพหลักการใช้กฎหมายในการปฏิบัติงานของทีมสหวิชาชีพ แยกผู้เสียหายมาคุ้มครอง ร่วมคุ้มครองผู้เสียหาย เหตุแห่งคดี องค์ประกอบร่วม สภาพแวดล้อม มาตรการทางกฎหมาย มาตรการทางการแพทย์ มาตรการทางสังคมสงเคราะห์

  9. ขั้นตอนการช่วยเหลือผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงขั้นตอนการช่วยเหลือผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรง ระดับโรงพยาบาล กรณีเด็ก รายงานข้อเท็จจริงตาม พรบ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 กรณีเป็นบุคคลในครอบครัว รายงานข้อเท็จจริงตาม พรบ.คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550

  10. การประเมินปัญหาและความต้องการผู้ถูกกระทำการประเมินปัญหาและความต้องการผู้ถูกกระทำ ศูนย์พึ่งได้-OSCC ประชุมทีมสหวิชาชีพ

  11. ทีมสหวิชาชีพประเมินความเสี่ยงทีมสหวิชาชีพประเมินความเสี่ยง เสี่ยง ประสานงานกับหน่วยงานภายนอกร่วมให้ความช่วยเหลือ/สงเคราะห์/แจ้งศูนย์ปฏิบัติการ ไม่พร้อม

  12. แผนผังการป้องกันและแก้ไขปัญหาระดับชุมชนและทีมสหวิชาชีพแผนผังการป้องกันและแก้ไขปัญหาระดับชุมชนและทีมสหวิชาชีพ อบต./อสม. ศูนย์ปฏิบัติการ ตาม พรบ. สาธารณสุข สวัสดิการ อพม.ศพค. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำสตรี ฯลฯ กระบวนการยุติธรรม การศึกษา

  13. กระบวนการทำงานร่วมกันระหว่างแกนนำชุมชน เครือข่าย และทีมสหวิชาชีพ เฝ้าระวังและป้องกันความรุนแรง ประสบเหตุ แจ้งเหตุ ประเมินสถานการณ์/ความเสี่ยงในเบื้องต้น ประสานส่งต่อ ให้ความคุ้มครอง จัดบริการให้ความช่วยเหลือ ช่วยเหลือผู้อื่นได้ คืนสู่สังคม

More Related