1 / 59

อาหารเสริมในวัยต่างๆและในผู้ป่วย

อาหารเสริมในวัยต่างๆและในผู้ป่วย. โดย ภญ.อ.ดร.เยาวลักษณ์ อ่ำรำไพ ภาควิชาเภสัชกรรมชุมชน คณะเภสัชศาสตร์ e-mail account: yaowalak.a@su.ac.th. อาหารเสริมในวัยต่างๆและในผู้ป่วย. วัตถุประสงค์ 1.ทราบ ความหมาย และ ความสำคัญ ของอาหารเสริม 2.ระบุ ตัวอย่างอาหารเสริม ได้

quinn-beach
Download Presentation

อาหารเสริมในวัยต่างๆและในผู้ป่วย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อาหารเสริมในวัยต่างๆและในผู้ป่วยอาหารเสริมในวัยต่างๆและในผู้ป่วย โดย ภญ.อ.ดร.เยาวลักษณ์ อ่ำรำไพ ภาควิชาเภสัชกรรมชุมชน คณะเภสัชศาสตร์ e-mail account: yaowalak.a@su.ac.th

  2. อาหารเสริมในวัยต่างๆและในผู้ป่วยอาหารเสริมในวัยต่างๆและในผู้ป่วย วัตถุประสงค์ 1.ทราบความหมายและความสำคัญของอาหารเสริม 2.ระบุตัวอย่างอาหารเสริมได้ 3.ทราบความสำคัญของอาหารทางการแพทย์และระบุลักษณะอาหารทางการแพทย์

  3. สตรีมีครรภ์ ทารก วัยรุ่น อาหารเสริม ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วย

  4. อาหารเสริม คือ อาหารที่นำมาเพิ่มเติมในอาหารที่รับประทานปกติ เพื่อให้ได้รับสารอาหารครบตามที่ร่างกายต้องการสำหรับคนปกติในวัยหรือภาวะต่างๆ

  5. อาหารเสริมสำคัญอย่างไรอาหารเสริมสำคัญอย่างไร • ทำให้ร่างกายเจริญเติบโตต่อเนื่อง • เริ่มเมื่ออายุ 3- 4 เดือน • 5 เดือน ปริมาณเพิ่ม 2 เท่า • 12 เดือน 3 เท่า • 24 เดือน 4 เท่า • 2.เสริมภาวะโภชนาการทั้งภาวะปกติและพิเศษ เช่น ตั้งครรภ์กีฬา • 3.แก้ปัญหาขาดสารอาหาร • 4.บ่มเพาะพฤติกรรมการกินโดยเฉพาะในเด็ก • 5.ช่วยการขับถ่ายให้เป็นไปด้วยดี

  6. อาหารเสริมเปลี่ยนไปตามพัฒนาการของทารกอาหารเสริมเปลี่ยนไปตามพัฒนาการของทารก 0-3 เดือน ของเหลว 4-5 เดือน อ่อน(กล้ามเนื้อลิ้น+คอ) 6-12 เดือน อาหารมีกาก มากกว่า 12 เดือน อาหารมีกาก

  7. อาหารแสลง เป็นความเข้าใจผิด อาหารที่ห้ามไม่ให้กินบางอย่าง หรืออาหารบางอย่างที่ให้กิน

  8. อาหารเสริมกับสตรีมีครรภ์อาหารเสริมกับสตรีมีครรภ์ • มารดาที่ตั้งครรภ์หากได้รับอาหารไม่เพียงพอทั้งชนิดและปริมาณจะมีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกและสืบเนื่องไปถึงวัยผู้ใหญ่ (Dietary Programming)

  9. “ผลของอาหารต่อระบบประสาทและสมอง”“ผลของอาหารต่อระบบประสาทและสมอง” แบ่งเซลล์ เพิ่มขนาด สังกะสี กรดโฟลิคสังกะสี 18ด. 24ด. ทารก Fetus Embryo โปรตีน ไขมัน พัฒนา Axon/ Dendrite สร้างมัยอิลิน

  10. ทารกในครรภ์

  11. อาหารเสริมที่ควรงดในสตรีมีครรภ์อาหารเสริมที่ควรงดในสตรีมีครรภ์ • 1รสเผ็ด อาหารที่ทำให้เกิดก๊าซ • 2 รสเค็มจัด • 3อัลกอฮอล์ • 4ชา กาแฟ

  12. สตรีมีครรภ์ควรรับประทานอาหารสตรีมีครรภ์ควรรับประทานอาหาร 1.อาหารโปรตีน ไข่ วันละ 1-2 ฟอง นม วันละ 1-2 แก้ว เนื้อสัตว์ วันละ 200 กรัม 2.พลังงาน ข้าว น้ำมันถั่วเหลือง 3 ช้อนโต๊ะ 3.วิตามิน เกลือแร่ ผักใบเขียว เหลือง

  13. ความต้องการสารอาหารในสตรีมีครรภ์ความต้องการสารอาหารในสตรีมีครรภ์ • พลังงาน • โปรตีน เท่าเดิม • แคลเซียม โซเเดียม • ฟอสฟอรัส โปตัสเซียม • เหล็ก คลอไรด์ • แมกนีเซียม • สังกะสี • วิตามิน A B1,6,12 D C K • ไอโอดีน เพิ่มขึ้น

  14. สตรีตั้งครรภ์ได้รับอาหารเพียงพอหรือไม่?สตรีตั้งครรภ์ได้รับอาหารเพียงพอหรือไม่? ใช้ การชั่งน้ำหนักตัว 3เดือนแรก เพิ่ม 1-2 ก.ก. 3เดือน เพิ่ม 0.5 ก.ก./WK. รวมจนถึงคลอด เพิ่ม 11-14 ก.ก. หากมากกว่า 3 ก.ก./WKอ้วน! หากน้อยเกินไป ทารกขาดพลังงาน โปรตีน ไม่แข็งแรง ภูมิต่ำ คลอดก่อนกำหนด

  15. ทารกน้ำหนักตัวน้อยกว่าปกติทารกน้ำหนักตัวน้อยกว่าปกติ

  16. อาหารเสริมกับทารก

  17. น้ำนมแม่ดีที่สุดสำหรับทารกน้ำนมแม่ดีที่สุดสำหรับทารก

  18. อาหารเสริมกับทารก ดีที่สุด = น้ำนมแม่ 5 วันแรก น้ำนมเหลือง (Colostrum) :โปรตีน 10-40 มล. :ไขมัน :คาร์โบไฮเดรต :เกลือแร่ วิตามิน : Bile Salt Stimulated Lipase (ช่วยย่อยไขมัน) 6-14 วัน น้ำนมระยะเปลี่ยนผ่าน(Transitional Milk) ตั้งแต่ 15 วัน Mature Milk 2-3 เดือน มีเม็ดเลือดขาวอยู่ในน้ำนมแม่

  19. คุณค่าของน้ำนมเหลือง 1.ให้ภูมิคุ้มกันแก่ทารก 2.ระบายขี้เทา 2-3 วันแรก 3.กระตุ้นให้หลั่งน้ำนม ได้เร็วและมากพอ ให้นมแม่ภายใน 12-24 ชม. หลังคลอด ให้น้ำนมแม่อย่างเดียวได้ 4-6 เดือน ให้น้ำนมแม่+อาหารเสริม 1 ปี

  20. น้ำนมแม่ดีอย่างไร 1. สารอาหารครบถ้วน 2. สะดวก 3. สะอาดและปลอดภัย 4. สารป้องกันการติดเชื้อ 5. ลดอัตราการเกิดโรคภูมิแพ้ 6. ไม่ทำให้ลูกอ้วน 7. ผลดีต่อจิตใจ 8. ผลดีต่อแม่ 9. ประหยัดเงิน

  21. น้ำนม... ดีที่สุด จริงๆ

  22. 3เดือน น้ำส้ม+น้ำ 1:1 กล้วยครูด 4 เดือน น้ำต้มผัก/ต้มกระดูก/ข้าวบด+ไข่แดง/ตับ/ถั่วบด/เต้าหู้ 5 เดือน ปลา/ฟักทอง/ตับ/ผักบด 6 เดือน อาหารเสริม1มื้อ ผลไม้=อาหารว่าง 7 เดือน อาหารเสริม1มื้อ ข้าว+เนื้อสัตว์/ไข่ทั้งฟอง 8-9 เดือน อาหารเสริม2มื้อ 10-12 เดือน อาหารเสริม3มื้อ อาหารเสริมสำหรับทารกอายุต่างๆ

  23. การสร้างโภคนิสัยที่ดี คำนึงถึง 1.เด็กชอบอาหารมีสี 2.เด็กไม่ชอบอาหารซ้ำซาก 3.ความอยากอาหารลดลงตามอัตราเติบโตที่ลดลง 4.อาหาร3มื้อ+อาหารว่าง 5.อาหารอร่อย+ย่อยง่าย 6.บรรยากาศ เจริญเติบโต คุณค่าบริโภคนิสัยที่ดีทำให้ ป้องกันโรค สภาพจิตใจดี ร่าเริง

  24. การตกแต่งอาหารให้น่ารับประทานสำหรับเด็ก

  25. อาหารเสริมกับวัยรุ่น

  26. อาหารเสริมกับวัยรุ่น หญิง 9-12 ปี (9-17ปี) ชาย 12-14ปี (12-21ปี) หญิง ชาย สู่วัยรุ่นเร็วกว่าชาย สูงกว่า น้ำหนักมากกว่า สะสมไขมัน สะสมกล้ามเนื้อ เผาผลาญพลังงานมาก

  27. ความสำคัญของโภชนาการต่อวัยรุ่นความสำคัญของโภชนาการต่อวัยรุ่น 1.เปลี่ยนจาก เด็ก เป็นผู้ใหญ่ 2.ภาวะบางอย่าง เช่น การมีประจำเดือน กีฬา กิจกรรมฯ ความต้องการพลังงานในวัยรุ่น หญิง สูงสุด 7-10ปี 2200 CAL./วัน ชาย สูงสุด19-22ปี 2900 CAL./วัน

  28. ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการวัยรุ่นปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการวัยรุ่น . บริโภคนิสัยที่เป็นมาแต่เดิม . ดื่มสุรา . ยา: เช่น ยาคุมกำเนิด . การตั้งครรภ์ . กีฬา-การออกกำลังกาย . การลดน้ำหนัก

  29. อาหารเสริมกับวัยผู้ใหญ่อาหารเสริมกับวัยผู้ใหญ่

  30. อาหารเสริมกับวัยผู้ใหญ่อาหารเสริมกับวัยผู้ใหญ่ • หญิง ชาย • เท่ากัน:แคลเซียม โฟลาซิน ไอโอดีน ฟอสฟอรัส สังกะสี วิตามินB12 วิตามินซี • มากกว่า:เหล็ก มากกว่า:โปรตีน พลังงาน วิตามิน A,B1,B2,B6

  31. การบริโภคอาหารในผู้ใหญ่คำนึงถึงการบริโภคอาหารในผู้ใหญ่คำนึงถึง 1.ระวัง: ไม่ทานข้าวขัดสี ควรทานข้าวกล้อง 2.พืชผัก-ผลไม้ ที่ให้กากใย 3.น้ำมันพืช น้ำมันถั่วเหลืองให้ไขมันจำเป็น 4.ลดรสหวาน เค็ม 5.งดสุรา บุหรี่ 6.ควบคุมน้ำหนักตัวให้เหมาะสม

  32. อาหารเสริมกับวัยสูงอายุอาหารเสริมกับวัยสูงอายุ

  33. อาหารเสริมกับวัยสูงอายุอาหารเสริมกับวัยสูงอายุ ผู้สูงอายุ มีอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไป ข้อจำกัดด้านร่างกายของผู้สูงอายุ 1.ประสิทธิภาพย่อยอาหารลดลง 2.ประสาทสัมผัสทั้ง 5 เสื่อมถอย 3.ระบบไหลเวียนเลือดเสื่อมถอย 4.หลั่งฮอร์โมน:อินซูลิน เอสโตรเจน ลดลง

  34. ปัญหาทางโภชนาการของผู้สูงอายุปัญหาทางโภชนาการของผู้สูงอายุ 1. เบื่ออาหาร 2. ท้องอืด-เฟ้อ ท้องผูก- ร่วง 3. โรคหัวใจ ไตความดัน 4. โรคเบาหวาน 5. ซึมเศร้า วิตกกังวล 6. ขาดอาหาร เพราะไม่อยากอาหาร ไม่มีคนดูแล 7. ร่างกายเคลื่อนไหวช้า ไม่สะดวก

  35. ทุโภชนาการในผู้สูงอายุทุโภชนาการในผู้สูงอายุ 1.ขาดโปรตีน พลังงาน 2.ขาดวิตามิน(เพราะขาดโปรตีน) 3.ขาดเกลือแร่ ที่พบบ่อย แคลเซียม เหล็ก 4.โภชนาการเกิน โดยเฉพาะคาร์โบไฮเดรต และไขมันทำให้อ้วนและเป็นโรคตามมา

  36. อาหารสำหรับผู้สูงอายุอาหารสำหรับผู้สูงอายุ 1. พลังงานลดลง เพราะเผาผลาญลดลง 2. ลดแป้ง น้ำตาล 3. ลดไขมันสัตว์ 4. ทานโปรตีน ควรทานนมวันละ 1 แก้ว ไข่ 2-4 ฟอง/สัปดาห์ ปลา ถั่ว 5. เกลือแร่ ระวังเกลือ ทานเหล็กและเพิ่มแคลเซียม 6. วิตามิน มักพบในคนที่เบื่ออาหาร อาจทานA,B6,B12 7. จำนวนมื้อ ทานทีละน้อยแต่เพิ่มมื้ออาหาร 8. เครื่องดื่ม : เลี่ยงสุรา ชา กาแฟ

  37. อาหารทางการแพทย์

  38. อาหารทางการแพทย์ . ย่อยง่าย . ดูดซึมดี อัตราการดูดซึมพอเหมาะ . ร่างกายนำไปใช้ได้ . ผลข้างเคียงน้อย

  39. อาหารทางการแพทย์:ผู้ป่วยอาหารทางการแพทย์:ผู้ป่วย อาหารทางการแพทย์มี 4 ลักษณะ 1. คุณค่าครบถ้วน 2. คุณค่าไม่ครบถ้วน 3. สูตรพิเศษ 4. เครื่องดื่มเกลือแร่

  40. การให้อาหารทางการแพทย์การให้อาหารทางการแพทย์ • อาหารทางการแพทย์ให้ได้ 3 ทาง คือ • 1.รับประทานทางปาก • 2.ให้ทางสายยาง (Tube Feeding)เช่น Naso - Gastric Tube หรือ Nasoduodenal Tube • 3.ให้ทางหลอดเลือดดำ

  41. ข้อบ่งใช้อาหารทางการแพทย์ข้อบ่งใช้อาหารทางการแพทย์ 1. ทานไม่ได้ / ไม่พอ / ลำบาก 2. ทางคลินิก : ขาดโปรตีน / พลังงาน : อุจจาระร่วงอย่างรุนแรง

More Related