1 / 77

การถอดบทเรียนการบริหารงบประมาณ สถานศึกษา

การถอดบทเรียนการบริหารงบประมาณ สถานศึกษา. ดร. ประจักษ์ สีหราช รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36. ประเด็นการนำเสนอ. 1. ถอดประสบการณ์ที่ผ่านมา 2. หนทางการนำไปสู่จุดมุ่งหมาย 3. จุดอุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหา

Download Presentation

การถอดบทเรียนการบริหารงบประมาณ สถานศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การถอดบทเรียนการบริหารงบประมาณการถอดบทเรียนการบริหารงบประมาณ สถานศึกษา ดร. ประจักษ์ สีหราช รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36

  2. ประเด็นการนำเสนอ 1.ถอดประสบการณ์ที่ผ่านมา 2.หนทางการนำไปสู่จุดมุ่งหมาย 3.จุดอุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหา 4.แผนงาน ที่มุ่งเน้นผลงาน

  3. สภาพของปัญหาภาพรวม ช้า ไม่ถูกต้อง ไม่ทันใจ

  4. ถอดประสบการณ์ที่ผ่านมาถอดประสบการณ์ที่ผ่านมา 1.ยุคกรมสามัญศึกษา (พรบ ระเบียบ ข้าราชการครู 2523) -ก่อนปี พ.ศ. 2535 ผวจ. ศธจ. (ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน) - ปี พ.ศ. 2535 ผอ.สศจ. 2.ยุคปฏิรูปการศึกษา (สพฐ) - ก่อน พ.ศ. 2548 - พ.ศ. 2548

  5. SPBB องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ 6

  6. หนทางการนำไปสู่จุดมุ่งหมายการใช้งบประมาณรายจ่ายประจำปีหนทางการนำไปสู่จุดมุ่งหมายการใช้งบประมาณรายจ่ายประจำปี รายจ่ายตามงบประมาณแยก 2 ลักษณะ 1.รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ 2.รายจ่ายงบกลาง

  7. 1.รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ1.รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ 1.งบบุคลากร 2.งบดำเนินงาน 3.งบลงทุน 4.งบเงินอุดหนุน 5.งบรายจ่ายอื่น

  8. 1.งบบุคลากร 1.1 เงินเดือน -บรรจุใหม่ -เงินประจำตำแหน่ง เงินค่าตอบแทนรายเดือน - เงินเบี้ยกันดาร - เงินช่วยเหลือค่าครองชีพพิเศษ 1.2 ค่าจ้างประจำ - เงินค่าตอบแทนรายเดือนสำหรับลูกจ้างประจำ -เงินช่วยเหลือการครองชีพพิเศษ

  9. 1.3 ค่าจ้างชั่วคราว 1.4 ค่าตอบแทนพนักงาน -เงินช่วยเหลือค่าครองชีพ 2 งบดำเนินงาน 2.1 ค่าตอบแทน - ค่าเช่าบ้าน - ค่าตอบแทนคณะกรรมการ - ค่าเบี้ยประชุม

  10. 2.2 ค่าใช้สอย - ค่าจ้างเหมาบริการ - ค่าช่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สิน - ค่ารับรองพิธีการ - ค่าธรรมเนียม ภาษี ค่าเบี้ยประกัน -ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ (ในประเทศ)

  11. 2.3 ค่าวัสดุ - สิ่งของใช้สิ้นเปลือง แปรสภาพ ไม่คงสภาพ -คงทนถาวร ราคา ต่อหน่วย เกิน 5,000.- บาท -จัดหาโปรมแกรมคอมพิวเตอร์ ต่อชุด ไม่เกิน 20,000.- บาท

  12. 2.4 ค่าสาธารณูปโภค - ไฟฟ้า ประปา ค่าน้ำบาดาล - ค่าโทรศัพท์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ (บัตรเติมเงินโทรศัพท์ บัตรโทรศัพท์ ) - ไปรษณีย์โทรเลข ค่าบริการสื่อสาร โทรคมนาคม -

  13. 3.งบลงทุน 3.1 ค่าครุภัณฑ์ - คงทนถาวร - ประกอบดัดแปลง ต่อเติม เกิน 5,000.- บาท 3.2 ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง - อาคาร บ้านพัก สนามเด็กเล่น

  14. 4. งบอุดหนุน 1. อุดหนุนทั่วไป 1.1 เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ก. เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายรายหัว ข. เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับนักเรียนยากจน - ค่าหนังสือและอุปกรณ์การเรียน - ค่าเสื้อผ้า และวัสดุเครื่องแต่งกายนักเรียน - ค่าอาหารกลางวัน - ค่าพาหนะนักเรียนเดินทาง

  15. 1.2 เงินอุดหนุนให้เป็นปัจจัยพื้นฐาน สำหรับนักเรียนประจำ - ค่าที่พักนอน - ค่าอุปกรณ์ เครื่องครัว - ค่าเครื่องแต่งกายนักเรียนนักเรียน - ค่าเครื่องใช้ส่วนตัวนักเรียน

  16. 1.3 เงินอุดหนุนค่าอาหารนักเรียน ประจำ 1.4 เงินอุดหนุนค่าอาหารนักเรียน ไป - กลับ

  17. 1.สพฐ.โอนตรงสถานศึกษา -ค่าใช้จ่ายรายหัว 15 ปี 2.สพฐ. จัดสรรผ่าน สพม / สถานศึกษา หน่วยเบิก - ปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน - ปัจจัยพื้นฐานนักเรียนประจำ - ค่าอาหารนักเรียนประจำ - ค่าอาหารนักเรียนไป - กลับ

  18. 2.รายจ่ายงบกลาง - เงินเบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญบำเหน็จตกทอด -เงินช่วยเหลือการศึกษาบุตร เงินพิเศษตายใน ราชการ เงินช่วยพิเศษ -เงินเลื่อนขั้นเลื่อนอันดับและเงินปรับวุฒิ -เงินสมทบกองทุน กบข กองทุนเลี้ยงชีพลูกจ้าง -คารักษาพยาบาล ไข้ใน

  19. แผนภูมิการวางแผนงบประมาณเชิงกลยุทธ์แผนภูมิการวางแผนงบประมาณเชิงกลยุทธ์ ผลงานองค์กร แผนกลยุทธ์ การจัดทำงบประมาณ MTEF การบริหารงบประมาณ แผนปฏิบัติการ KPI/Balanced Scorecard:BSC การติดตาม ประเมินผล และรายงานผล 9

  20. เงินในสถานศึกษา 1. เงินอุดหนุน 2. เงินรายได้สถานศึกษา

  21. เงินอุดหนุน

  22. หนังสือสั่งการ หนังสือ สพฐ. ที่ 04006/2279 ลว. 16 ธันวาคม 2548 2

  23. เงินอุดหนุน 1.เงินอุดหนุน คชจ.ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2.เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับ นร.ยากจน 3.ค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอน 3

  24. 1. เงินอุดหนุน คชจ.ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ค่าใช้จ่ายรายหัว) หลักการ • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 • มาตรา 49 (สิทธิการศึกษา 12 ปี) • พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 • และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545 • * หมวด 2 มาตรา 10 (ไม่เสียค่าใช้จ่าย) • * หมวด 8 มาตรา 60(รัฐจัดสรร.งปม) 4

  25. หลักการ • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 • มาตรา 49 • “ บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา • ขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี ที่รัฐจะต้องจัดให้ • อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย” 5

  26. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 • และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545 • * หมวด 2 มาตรา 10“การจัดการศึกษา • ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการ • รับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐ • ต้องจัดให้อย่างทั่วถึง และมีคุณภาพโดยไม่เก็บ • ค่าใช้จ่าย 6

  27. * หมวด 8 มาตรา 60 “ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษาในฐานะที่มีความสำคัญสูงสุดต่อการพัฒนา ที่ยั่งยืนของประเทศ โดยจัดสรรเป็นเงินงบประมาณ เพื่อการศึกษาดังนี้(1) จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคลที่เหมาะสมแก่ผู้เรียนการศึกษาภาคบังคับ และการศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดโดยรัฐและเอกชนให้เท่าเทียมกัน” 7

  28. วัตถุประสงค์ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้ได้ประโยชน์สูงสุดในการพัฒนานักเรียนให้เป็นไปตามเจตนารมย์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 , 2545 8

  29. แนวทางการใช้งบประมาณ 1. สถานศึกษาจัดทำแผนการปฏิบัติงานประจำปี 2. เสนอแผนฯ ผ่านความเห็นชอบต่อ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. รายงานผลการดำเนินงานให้สาธารณชนทราบ 4. ใช้จ่ายงบประมาณให้สอดคล้องกับแผนฯ 9

  30. งบประมาณ คชจ.รายหัว * ก่อนประถม 1,700 บาท/คน * ประถม 1,900 บาท/คน * มัธยมศึกษาตอนต้น 3,500 บาท/คน * มัธยมศึกษาตอนปลาย 3,800 บาท/คน 10

  31. 3 ประเภท ลักษณะการใช้งบประมาณ • งบบุคลากร • *ค่าจ้างชั่วคราว เช่น จ้างครูอัตราจ้างรายเดือน • พนักงานขับรถ ฯลฯ 11

  32. งบดำเนินงาน • * ค่าตอบแทน เช่น ค่าตอบแทนวิทยากร • ค่าตอบแทนวิทยากรวิชาชีพท้องถิ่น ฯลฯ • * ค่าใช้สอย เช่น ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะ • ค่าจ้างซ่อมแซม ค่าจ้างเหมาบริการ ค่าพาหนะพา นร. • ไปทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ ฯลฯ • * ค่าวัสดุ เช่น ค่าวัสดุการศึกษา ค่าเครื่องเขียน • ค่าวัสดุเวชภัณฑ์ ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สิน ฯลฯ • * ค่าสาธารณูปโภค เช่น ค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ • ฯลฯ 12

  33. งบลงทุน • * ค่าครุภัณฑ์ เช่น จัดซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ • เครื่องถ่ายเอกสาร ฯลฯ • * ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รายจ่ายเพื่อประกอบ • ดัดแปลงต่อเติม หรือปรับปรุงที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง • ที่มีวงเงินเกินกว่า 50,000 บาท เช่น ค่าจัดสวน • ค่าถมดิน ถนน รั้ว สะพาน บ่อน้ำ ฯลฯ 13

  34. 2. เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับ นร.ยากจน นร.ยากจน = นร.ที่ผู้ปกครองมีรายได้ต่อครัวเรือน ไม่เกิน 40,000 บาท/ปี ให้นักเรียนยากจนขาดแคลน ชั้น ป. 1 – ม. 3 14

  35. งบประมาณ * ประถม 1,000 640 บาท/คน/ปี * มัธยมศึกษาตอนต้น และขยายโอกาส 3,000 2,550 บาท/คน/ปี 15

  36. ลักษณะการใช้งบประมาณ ลักษณะ ถัวจ่าย ค่าหนังสือและอุปกรณ์การเรียน ค่าเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายนักเรียน ค่าอาหารกลางวัน และค่าพาหนะในการเดินทาง 16

  37. การใช้จ่ายงบประมาณ • 1. ค่าหนังสือและอุปกรณ์การเรียน • 2. ค่าเสื้อผ้าและวัสดุเครื่องแต่งกายนักเรียน • ค่าอาหารกลางวัน • ค่าพาหนะในการเดินทาง 17

  38. การจัดซื้อ – จัดจ้าง – จัดหา ดำเนินการตามระเบียบฯพัสดุ การจ่ายเงินสดให้ นร. โดยตรง แต่งตั้งคณะกรรมการอย่างน้อย 3 คน ร่วมกันจ่ายเงิน ใช้ใบสำคัญรับเงินเป็นหลักฐาน 18

  39. แนวทางดำเนินงาน • สำรวจข้อมูล นร.ยากจน และรายงาน สพม. • เพื่อเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณ • จัดสรรและใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตาม • วัตถุประสงค์ • จัดกิจกรรมและควบคุมดูแล นร.ยากจน • รายงานผลการดำเนินงาน 19

  40. 3. ค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอน ป. 1 - ม. 3 20

  41. ค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอนค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอน = เงินงบประมาณที่จัดสรรให้แก่สถานศึกษาที่ได้ ดำเนินการจัดที่พักให้แก่นักเรียน ซึ่งมีถิ่นที่อยู่ไม่สะดวก ห่างไกล กันดาร ไว้สำหรับพักอาศัย ทั้งที่จัดในและ นอกสถานศึกษา โดยสถานศึกษาได้ดำเนินการควบคุม ดูแล และจัดระบบแบบเต็มเวลา 21

  42. ยกเว้น • นร.ในสถานศึกษาทั่วไปแบบประจำ • นร.ในสถานศึกษาสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ • สถานศึกษาที่ได้ดำเนินการจัดหอพักในสถานศึกษาและได้เรียกเก็บเงินค่าอาหาร นร. ประจำพักนอนทุกคนแล้ว • กรณีเรียกเก็บเงินไม่ครบทุกคน จัดสรรให้ได้เฉพาะจำนวน นร. ส่วนที่เหลือ 22

  43. ลักษณะการใช้งบประมาณ ใช้เป็นค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอน 23

  44. การใช้จ่ายงบประมาณ • จ่ายหรือจัดหาอาหาร โดยเลือกวิธีได้ดังนี้ • * จัดซื้อวัตถุดิบประกอบอาหาร หรือ • จ้างเหมาทำอาหาร • * จ่ายเงินสดให้ นร. • หากมีงบประมาณคงเหลือ สามารถนำไป • ใช้จ่ายรายการอื่นที่เกี่ยวกับการจัดอาหารได้ 24

  45. แนวทางดำเนินงาน • สำรวจข้อมูลจากโครงการ นร.ประจำพักนอน • และรายงาน สพท. เพื่อเสนอขอรับการสนับสนุน • งบประมาณ • จัดสรรและใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตาม • วัตถุประสงค์ • จัดกิจกรรมและควบคุมดูแล นร.ประจำพักนอน • รายงานผลการดำเนินงาน 25

  46. ระเบียบ สพฐ. ว่าด้วยการบริหารจัดการเกี่ยวกับ เงินรายได้สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่เป็นนิติบุคคล ในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2549 1

  47. สถานศึกษา สถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล ในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา ตามประกาศของ สพม. 2

  48. เงินรายได้สถานศึกษา บรรดารายได้ ผลประโยชน์ที่เกิดจากที่ราชพัสดุเบี้ยปรับที่เกิดจากการผิดสัญญาลาศึกษาและเบี้ยปรับที่เกิดจากการผิดสัญญาการซื้อทรัพย์สินหรือจ้างทำของที่ดำเนินการโดยใช้เงินงบประมาณ เงินที่มีผู้มอบให้ และเงินหรือผลประโยชน์อื่นที่สถานศึกษาได้รับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ แต่ไม่รวมถึงเงินงบประมาณรายจ่าย 3

  49. การรับเงินและการเก็บรักษาเงินการรับเงินและการเก็บรักษาเงิน หมวด 1 ข้อ 5 - ออกใบเสร็จรับเงินทุกครั้งที่รับเงิน - ใบเสร็จรับเงินใช้ตามแบบทางราชการ - ควบคุมใบเสร็จรับเงินให้ตรวจสอบได้ ข้อ 6 - เก็บรักษาเงินสดไว้สำรองจ่ายตามที่ สพฐ. กำหนด - นอกนั้นนำฝากกระทรวงการคลังหรือ สำนักงานคลังจังหวัด หรือนำฝากธนาคาร 4

  50. การก่อหนี้ผูกพันและการใช้จ่ายเงินการก่อหนี้ผูกพันและการใช้จ่ายเงิน หมวด 2 ข้อ 7 - เงินรายได้สถานศึกษาใดให้ใช้จ่าย หรือก่อหนี้ผูกพันเฉพาะสถานศึกษานั้น ข้อ 8 - ให้นำเงินรายได้ฯไปจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตามหลักเกณฑ์ อัตราและวิธีการที่ สพฐ. กำหนด ข้อ 9 - อำนาจการอนุมัติจ่ายและก่อหนี้ผูกพันให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ เลขา สพฐ. กำหนด 5

More Related