560 likes | 680 Views
การพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคล สำหรับพนักงานมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. โดย ผศ.ดร.ธนพรรณ ธานี รองอธิการบดีฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์ นางเกษร จรัญพรหมสิริ รักษาราชการแทนผู้อำนวยการกองการเจ้าหน้าที่ นางสาวสิริรัตน์ วงษ์ทอง บุคลากร กองการเจ้าหน้าที่. ความเป็นมา.
E N D
การพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคล สำหรับพนักงานมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี โดย ผศ.ดร.ธนพรรณ ธานี รองอธิการบดีฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์ นางเกษร จรัญพรหมสิริ รักษาราชการแทนผู้อำนวยการกองการเจ้าหน้าที่ นางสาวสิริรัตน์ วงษ์ทอง บุคลากร กองการเจ้าหน้าที่
ความเป็นมา ข้อบังคับ ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลสำหรับพนักงาน ข้อบังคับ ว่าด้วยการบริหารงานบุคคล สำหรับพนักงาน พ.ศ.2542 (มีผลบังคับใช้ 3 ปี) ข้อบังคับ ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลสำหรับพนักงาน พ.ศ.2545 (จนกว่ามหาวิทยาลัยจะออกนอกระบบ) ข้อบังคับ ว่าด้วยการบริหารงานบุคคล สำหรับพนักงาน พ.ศ.2548 ข้อบังคับ ว่าด้วยการบริหารงานบุคคล สำหรับพนักงาน พ.ศ.2554 (มีผลบังคับใช้ 8 ตุลาคม 2554)
หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขการสอบแข่งขันหรือคัดเลือก • พนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ.2555 • การจ้างพนักงานให้ใช้วิธีการสอบแข่งขัน • ใช้สอบ การสอบคัดเลือกได้ ในกรณี • ผู้ได้รับทุนการศึกษา • ผู้สำเร็จการศึกษาในสาขาวิชาชีพ และในระดับคุณวุฒิที่ขาดแคลน • ผู้มีความรู้ความสามารถพิเศษ • กรณีอื่นตามที่ ก.บ.บ. กำหนด
ก่อนการเปิดสอบแข่งขันหรือคัดเลือก ให้ดำเนินการ ดังนี้ • กรณีขออนุมัติยุบเลิกตำแหน่งข้าราชการ • ให้เสนอขออนุมัติต่อ ก.บ.บ. • กรณีขอเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการบรรจุ • ให้เสนอขออนุมัติต่อ ก.บ.บ. • กรณีเป็นตำแหน่งว่างมีเงิน เนื่องจากการลาออก • ให้เสนอขออนุมัติต่อ อธิการบดี
หลักเกณฑ์และวิธีการสอบคัดเลือกหลักเกณฑ์และวิธีการสอบคัดเลือก • ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป 100 คะแนน • ภาคความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง 100 คะแนน • ภาคความเหมาะสมกับตำแหน่ง 100 คะแนน
การประกาศรับสมัคร • ต้องประกาศก่อนวันรับสมัครไม่น้อยกว่า 7 วัน • รับสมัครไม่น้อยกว่า 15 วันทำการ • การประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ ต้องประกาศก่อนวันสอบ • ไม่น้อยกว่า 7 วัน • หากมีเหตุจำเป็น ประกาศขยายได้ แต่ต้องประกาศขยายเวลา • ก่อนวันปิดรับสมัครสอบแข่งขัน ไม่น้อยกว่า 7 วัน • ขยายได้ไม่เกิน 15 วันทำการ • ผู้สอบแข่งขันได้ ต้องได้คะแนนแต่ละภาค ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 • คะแนนรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 • การขึ้นบัญชี ไม่เกิน 1 ปี
สัญญาจ้างพนักงาน • 1 : 2 : 5 : 5 : เกษียณอายุราชการ
กำหนดอัตราเงินเดือนแรกบรรจุสำหรับพนักงานมหาวิทยาลัยกำหนดอัตราเงินเดือนแรกบรรจุสำหรับพนักงานมหาวิทยาลัย
อัตราส่วนการจ่ายเงินเดือนพนักงานมหาวิทยาลัยอัตราส่วนการจ่ายเงินเดือนพนักงานมหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี 2542 - 2546
อัตราส่วนการจ่ายเงินเดือนพนักงานมหาวิทยาลัยอัตราส่วนการจ่ายเงินเดือนพนักงานมหาวิทยาลัย ระหว่างปี 2548 - 2549
อัตราส่วนการจ่ายเงินเดือนพนักงานมหาวิทยาลัยอัตราส่วนการจ่ายเงินเดือนพนักงานมหาวิทยาลัย ระหว่างปี 2550 - 2554
อัตราส่วนการจ่ายเงินเดือนพนักงานมหาวิทยาลัยอัตราส่วนการจ่ายเงินเดือนพนักงานมหาวิทยาลัย ปี 2555 (ณ ปัจจุบัน)
การกำหนดชื่อตำแหน่งและจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งพนักงานมหาวิทยาลัยการกำหนดชื่อตำแหน่งและจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งพนักงานมหาวิทยาลัย
การกำหนดชื่อตำแหน่งและจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งการกำหนดชื่อตำแหน่งและจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง พนักงานมหาวิทยาลัย (ต่อ 2)
การกำหนดอัตราเงินเดือนขั้นต่ำ – ขั้นสูง สำหรับพนักงานมหาวิทยาลัย • 1. ตำแหน่งประเภทวิชาการ
การกำหนดอัตราเงินเดือนขั้นต่ำ – ขั้นสูง สำหรับพนักงานมหาวิทยาลัย (ต่อ) • 2. ตำแหน่งประเภทบริหาร
การกำหนดอัตราเงินเดือนขั้นต่ำ – ขั้นสูง สำหรับพนักงานมหาวิทยาลัย (ต่อ) • 3. ตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ
การกำหนดอัตราเงินเดือนขั้นต่ำ – ขั้นสูง สำหรับพนักงานมหาวิทยาลัย (ต่อ) • 4. ตำแหน่งประเภททั่วไป
การปรับเงินเดือนพนักงานมหาวิทยาลัยการปรับเงินเดือนพนักงานมหาวิทยาลัย • การปรับอัตราเงินเดือนพนักงานมหาวิทยาลัยร้อยละ 5 • ณ วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2554 • รวมเงินค่าจ้าง ค่าสวัสดิการ และค่าประสบการณ์ (ถ้ามี) เข้าด้วยกันรวมเรียกว่า “เงินเดือน” • ปรับเงินเดือนพนักงานที่ต่ำกว่าเงินเดือนแรกบรรจุให้จนถึงอัตราเงินเดือนแรกบรรจุ
การปรับเงินเดือนพนักงานมหาวิทยาลัยการปรับเงินเดือนพนักงานมหาวิทยาลัย
กำหนดฐานในการคำนวณและช่วงเงินเดือน สำหรับการเพิ่มเงินเดือนในแต่ละประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง
กำหนดฐานในการคำนวณและช่วงเงินเดือน สำหรับการเพิ่มเงินเดือนในแต่ละประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง
กำหนดฐานในการคำนวณและช่วงเงินเดือน สำหรับการเพิ่มเงินเดือนในแต่ละประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง
กำหนดฐานในการคำนวณและช่วงเงินเดือน สำหรับการเพิ่มเงินเดือนในแต่ละประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง
กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการเพิ่มเงินเดือนพนักงานมหาวิทยาลัย
หลักเกณฑ์และวิธีการ การทดลองปฏิบัติงานสำหรับพนักงานมหาวิทยาลัย • ระยะเวลาประเมินทดลองปฏิบัติงาน • สายวิชาการ ไม่น้อยกว่า 6 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี โดยให้มีเวลาทำการสอน • ไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษากรณีไม่สามารถประเมินได้ทันตามกำหนด ขยายได้ไม่เกิน 2 ครั้ง รวมระยะเวลาทดลองปฏิบัติงาน และเวลาที่ขยายแล้วต้องไม่เกิน 1 ปี 6 เดือน • ตำแหน่งอื่นๆ ไม่น้อยกว่า 6 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปีกรณีไม่สามารถประเมินได้ทันตามกำหนด ขยายได้ไม่เกิน 2 ครั้ง รวมระยะเวลาทดลองปฏิบัติงาน และเวลาที่ขยายแล้วต้องไม่เกิน 1 ปี • ให้เริ่มนับระยะเวลาใหม่ ในกรณีดังนี้ • - การย้ายไปแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทเดียวกันแต่ต่างสายงาน • - การย้ายไปแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในตำแหน่งต่างประเภท • ให้นับระยะเวลาต่อเนื่อง ในกรณีดังนี้ • - การย้ายไปแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทเดียวกันและสายงานเดียวกัน • การย้ายไปแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทเกี่ยวกันต่างสายงาน แต่ • ภารกิจ/งาน/กิจกรรมของงาน ใกล้เคียงกัน • - การออกจากงานไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการ • ทหาร แล้วได้รับการบรรจุและแต่งตั้งไปจากตำแหน่งเดิม
หลักเกณฑ์และวิธีการ การทดลองปฏิบัติงานสำหรับพนักงานมหาวิทยาลัย • องค์ประกอบของการประเมินผลการทดลองปฏิบัติงาน • ผลสัมฤทธิ์ของการทดลองปฏิบัติงาน • - ความสามารถในการเรียนรู้งาน • - ความสามารถในการปรับใช้ความรู้กับงานในหน้าที่ • - ความสำเร็จของงานที่ได้รับมอบหมาย • พฤติกรรมของผู้ทดลองปฏิบัติงาน • - การมุ่งผลสัมฤทธิ์ • - การบริการที่ดี • - การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ • - การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม • - การทำงานเป็นทีม • สัดส่วนคะแนน • ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติหน้าที่ราชการ 50 คะแนน • พฤติกรรมของผู้ปฏิบัติหน้าที่ราชการ 50 คะแนน
หลักเกณฑ์และวิธีการ การทดลองปฏิบัติงานสำหรับพนักงานมหาวิทยาลัย • เกณฑ์การประเมิน ต้องได้คะแนนในแต่ละส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 • องค์ประกอบกรรมการประเมินผลการทดลองปฏิบัติงาน • - ประธานกรรมการ 1 คน • - กรรมการอีกจำนวนไม่น้อยกว่า 2 คน (คณะกรรมการควรเป็นผู้รับรู้หรือเกี่ยวข้องกับการทดลองปฏิบัติงานหน้าที่ราชการ) • - กรรมการและเลขานุการ • - กรณีที่มีเหตุผลความจำเป็นอาจแต่งตั้งผู้ดูแลการทดลองปฏิบัติงาน หรือกรรมการ นอกส่วนงานเป็นกรรมการได้ • การรายงานผล รายงานผลการประเมินตามแบบ ป.4 ต่ออธิการบดีหรือผู้อธิการบดีมอบหมาย ภายใน 15 วัน
การปรับสัญญาจ้างให้สอดคล้องกับข้อบังคับมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ว่าด้วยบริหารงานบุคคลสำหรับพนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2554 ได้มีการปรับสัญญาจ้างพนักงานมหาวิทยาลัย ให้สอดคล้องกับข้อบังคับมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ว่าด้วยบริหารงานบุคคลสำหรับพนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2554
ตัวอย่าง เปรียบเทียบค่าจ้าง (ระบบเดิม) กับเงินเดือน (ระบบใหม่) จากตัวอย่างที่ 1 ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปปฏิบัติการ
ตารางที่ 1 ข้อมูลค่าจ้างพนักงานมหาวิทยาลัยในระบบเดิมกรณีปฏิบัติงาน 20 ปี
ตารางที่ 2 ข้อมูลเงินเดือนพนักงานมหาวิทยาลัยในระบบใหม่กรณีปฏิบัติงาน 20 ปี
สวัสดิการสำหรับพนักงานสวัสดิการสำหรับพนักงาน • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • กองทุนสวัสดิการ • กองทุนฌาปนกิจสงเคราะห์ • ประกันสังคม
การลาออก พนักงานต้องยื่นหนังสือขอลาออกและแบบตรวจสอบหนี้สิน ก่อนวันขอลาออกไม่น้อยกว่า 30 วัน ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ของมหาวิทยาลัย อธิการบดีมีสิทธิ์ยับยั้งไม่เกิน 90 วัน นับแต่วันที่ขอลาออก
ลาศึกษา • คุณสมบัติ
หลักฐานประกอบการพิจารณาหลักฐานประกอบการพิจารณา
การปฏิบัติระหว่างลาศึกษาการปฏิบัติระหว่างลาศึกษา รายงานผลการศึกษาทุกภาคการศึกษา ไม่สามารถสำเร็จการศึกษาได้ตามหลักสูตร สามารถ ขอขยายเวลาศึกษาได้ครั้งละไม่เกิน 1 ภาคการศึกษา
การรายงานตัวกลับเข้าปฏิบัติงานการรายงานตัวกลับเข้าปฏิบัติงาน ศึกษาภายในประเทศ : โดยเร็ว ทั้งนี้ ไม่เกิน 7 วัน ศึกษา ณ ต่างประเทศ ลาเกิน 1 ปี : ภายใน 20 วัน ลาเกิน 6 เดือน : ภายใน 10 วัน ลาไม่เกิน 6 เดือน : ภายใน 5 วัน หากรายงานตัวเกินระยะเวลาที่กำหนดต้องยื่นใบลาอื่น เช่น ลาป่วย ลากิจ เท่ากับระยะเวลาที่เกิน
ฝึกอบรม คุณสมบัติ • ในประเทศ • มีคุณสมบัติตรงตามที่หลักสูตรฝึกอบรมนั้น ๆ กำหนด • ต่างประเทศ • 1. มีเวลาปฏิบัติงานชดใช้ครบก่อนเกษียณอายุราชการ รวมถึง • การปฏิบัติงานชดใช้ตามสัญญาลาศึกษา ฝึกอบรม หรือ • ปฏิบัติการวิจัยที่ค้างอยู่ • 2. ปฏิบัติงานมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี • 3. พ้นการทดลองปฏิบัติงานแล้ว
หลักฐานประกอบการพิจารณาหลักฐานประกอบการพิจารณา 1. เหตุผลความจำเป็น 2. หนังสือตอบรับจากสถานฝึกอบรม 3. หลักฐานแสดงการได้รับทุน (ถ้ามี)
การรายงานตัวกลับเข้าปฏิบัติงานการรายงานตัวกลับเข้าปฏิบัติงาน ศึกษาภายในประเทศ : โดยเร็ว ทั้งนี้ ไม่เกิน 7 วัน ศึกษา ณ ต่างประเทศ ลาเกิน 1 ปี : ภายใน 20 วัน ลาเกิน 6 เดือน : ภายใน 10 วัน ลาไม่เกิน 6 เดือน : ภายใน 5 วัน หากรายงานตัวเกินระยะเวลาที่กำหนดต้องยื่นใบลาอื่น เช่น ลาป่วย ลากิจ เท่ากับระยะเวลาที่เกิน
ปฏิบัติการวิจัย ณ ต่างประเทศ เงื่อนไขการปฏิบัติการวิจัย 1. ผู้วิจัยต้องมีผลงานวิจัยที่เป็นประโยชน์และได้ตีพิมพ์เผยแพร่ ในระดับนานาชาติ อย่างน้อย 2 ผลงาน 2. เป็นการวิจัยที่สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล กำหนดผู้รับผิดชอบและมีงบประมาณรองรับชัดเจน 3. หัวข้อการวิจัยอยู่ในโครงการความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยหรือส่วนราชการกับรัฐบาลต่างประเทศ 4. ค่าใช้จ่ายในการวิจัยตลอดจนค่าครองชีพของผู้วิจัยต้องไม่เบิกจากเงินงบประมาณ และไม่เป็นในลักษณะว่าจ้าง 5. โครงการและแผนงานต้องได้รับความเห็นชอบจากต้นสังกัดแล้ว
คุณสมบัติ • 1. มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า • 2. ปฏิบัติงานมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี • 3. พ้นการทดลองปฏิบัติงานแล้ว • 4. ต้นสังกัดรับรองว่ามีประสบการณ์ด้านการวิจัย หรืองานสอน • หรือปฏิบัติงานในเรื่องที่จะทำการวิจัยไม่น้อยกว่า 2 ปี อนุมัติให้ลาปฏิบัติการวิจัยได้ไม่เกิน 2 ปี และต้องรายงานความก้าวหน้าให้มหาวิทยาลัยทราบทุก 6 เดือน
การรายงานตัวกลับเข้าปฏิบัติงานการรายงานตัวกลับเข้าปฏิบัติงาน ลาเกิน 1 ปี : ภายใน 20 วัน ลาเกิน 6 เดือน : ภายใน 10 วัน ลาไม่เกิน 6 เดือน : ภายใน 5 วัน หากรายงานตัวเกินระยะเวลาที่กำหนดต้องยื่นใบลาอื่น เช่น ลาป่วย ลากิจ เท่ากับระยะเวลาที่เกิน
การชดใช้ • สัญญาลาศึกษา ฝึกอบรม ปฏิบัติการวิจัย ทั้งในและต่างประเทศ ชดใช้เป็นระยะเวลาเท่ากับระยะเวลาที่ศึกษา • สัญญารับทุน ชดใช้เป็นระยะเวลาตามเงื่อนไขที่ระบุในสัญญารับทุน