130 likes | 261 Views
ภารกิจและทิศทางการดำเนินงาน กฎหมายสาธารณสุข ของกรมอนามัย. พันธกิจของกรมอนามัย. วิจัย พัฒนาองค์ความรู้ กำหนดคุณภาพ/มาตรฐาน สนับสนุน/ถ่ายทอดความรู้ การจัดการเทคโนโยลี. พัฒนานโยบาย/แผน งานหลัก พัฒนาระบบ&กลไก ตาม กฎหมาย สาธารณสุข ปฏิบัติการอื่นตามที่รับมอบหมาย. ในขอบเขต
E N D
ภารกิจและทิศทางการดำเนินงานกฎหมายสาธารณสุขของกรมอนามัยภารกิจและทิศทางการดำเนินงานกฎหมายสาธารณสุขของกรมอนามัย
พันธกิจของกรมอนามัย • วิจัยพัฒนาองค์ความรู้ • กำหนดคุณภาพ/มาตรฐาน • สนับสนุน/ถ่ายทอดความรู้ การจัดการเทคโนโยลี • พัฒนานโยบาย/แผนงานหลัก • พัฒนาระบบ&กลไกตามกฎหมาย • สาธารณสุข • ปฏิบัติการอื่นตามที่รับมอบหมาย ในขอบเขต * การส่งเสริมสุขภาพ * การอนามัยสิ่งแวดล้อม กลไกของรัฐ/องค์กรฯท้องถิ่น/ชุมชน/เอกชน ประชาชนมีสุขภาพดี
กรมอนามัย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กอง/สำนัก ศกม. ศูนย์อนามัย ที่ 1-12 กอง/สำนัก กอง/สำนัก ใช้มาตรการกฎหมาย บริการสาธารณะ • ออกข้อกำหนดท้องถิ่น • ประชาสัมพันธ์/ชี้แจง • ควบคุม/อนุญาต • ตรวจตราดูแล/ออกคำสั่ง • ดำเนินคดี ถ่ายทอด/พัฒนา • พัฒนานโยบายสาธารณะ • พัฒนาองค์ความรู้/ มาตรฐาน • เฝ้าระวังสุขภาพ& สิ่งแวดล้อม บริการ ส่งเสริมสุขภาพ พัฒนากฎ/ข้อบังคับ ประกันความเป็นธรรม สถานประกอบการได้มาตรฐาน/ปลอดภัย สิ่งแวดล้อมสะอาด/ปลอดภัย เผยแพร่/ให้สุขศึกษา ประชาชน /ชุมชน • มีความรู้/ป้องกันตนเอง • รู้สิทธิ/หน้าที่/เรียกร้อง • มีพฤติกรรมอนามัยดี เกิดปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ประชาชน/ชุมชน มีสุขภาพดี อยู่ในสภาวะแวดล้อมที่ดี
สนับสนุน ภารกิจของกรมอนามัยตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข ราชการส่วนท้องถิ่น คุ้มครอง สุขภาพ ประชาชน ป้องกัน • ปัจจัยเสี่ยง • สิ่งปฏิกูล มูลฝอย • สิ่งมีพิษอันเป็น • เหตุรำคาญ กลุ่มกิจการที่มีผลกระทบต่อ สุขภาพ
กลไกการดำเนินการตามกฎหมายสาธารณสุขกลไกการดำเนินการตามกฎหมายสาธารณสุข • พัฒนานโยบายสาธารณะ • ออกกฎกระทรวง • ออกประกาศกระทรวง รัฐมนตรี คณะกรรมการสาธารณสุข อุทธรณ์ ออกคำแนะนำ อธิบดีกรม อ.(เลขานุการฯ) จพง.สาธารณสุข (ศูนย์/สสจ./สสอ./สอ.) พบเหตุ ต้องแจ้ง ราชการส่วนท้องถิ่น จนง.ท้องถิ่น ผู้ได้รับการแต่งตั้งจาก จพง.ท้องถิ่น • ออกข้อกำหนดท้องถิ่น • อนุญาต/ไม่อนุญาต • ออกคำสั่งแก้ไข/หยุด /พักใช้/เพิกถอน ตรวจตรา/แนะนำ ป ร ะ ช า ช น / เ อ ก ช น / ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร
พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ให้อำนาจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น • สิ่งปฏิกูล/ มูลฝอย • กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ • กิจการตลาด • สถานที่จำหน่าย/ สะสมอาหาร • การขายสินค้าในที่/ ทางสาธารณะ พิจารณาอนุญาต กิจการต่าง ๆ • ออกคำสั่งให้ • ปรับปรุง/ แก้ไข • พักใช้/ หยุด • เพิกถอน • กรณี • เหตุรำคาญ • ผิดสุขลักษณะอาคาร • ฝ่าฝืนข้อกำหนดฯ
องค์ประกอบการดำเนินงานกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อมองค์ประกอบการดำเนินงานกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม เจ้าพนักงาน ตัวบทกฎหมาย ประชาชน ผู้ประ กอบการ วิถีประชา
ปัญหาการ บังคับใช้กฎหมาย ตัวบทกฎหมาย • ไม่มีบทบัญญัติ • ไม่มีเกณฑ์ชี้วัด ที่ชัดเจน • กฎหมาย ซ้ำซ้อน เจ้าพนักงาน • ไม่มีความรู้ • ไม่มั่นใจ • ไม่มีทักษะ • ไม่บังคับใช้ • กลัวความ ขัดแย้ง ผู้ประกอบการ ประชาชน • ไม่รู้กฎหมาย • ไม่เข้าใจ เหตุผล • ไม่รับผิดชอบ / หลบเลี่ยง • ไม่รู้กฎหมาย / สิทธิตนเอง • ไม่เรียกร้อง / ร้องเรียน • ไม่มีส่วนร่วม
ภาพในทศวรรษหน้า ตัวบทกฎหมาย (4) ต้องเน้น “นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ” และ “HIA.” มากขึ้น (3) ต้องเน้น “มาตรการกำกับดูแล” มากกว่า “มาตรการควบคุม” • (1) ต้องกระจายอำนาจไปสู่ “ราชการส่วนท้องถิ่น” • เพื่อแก้ปัญหา กฎหมายหลายฉบับ • เพื่อให้เกิด “ONE STOP SERVICE” • เพื่อให้เกิด “การมีส่วนร่วม” ของ ประชาชนในระดับท้องถิ่น (2) ต้องเน้นหลักการ “POLLUTER PAY PRINCIPLE” “ผู้ก่อมลพิษต้องเป็นผู้จ่าย”
ฝ่ายปกครอง • ต้องวางระเบียบวิธีปฏิบัติที่ชัดเจน (ตามพรบ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง) • ต้องมีความเสมอภาค / ยุติธรรม • ต้องรับผิดชอบ / จริงจัง • ต้องตรวจสอบได้ เจ้า พนักงาน เจ้า พนักงาน ฝ่ายวิชาการ • ต้องพัฒนามาตรฐานหลักเกณฑ์ที่ เหมาะสม “appropriate technology” • ต้องพัฒนาเครื่องมือวิธีการตรวจวัด • ต้องดึงให้ “ผู้ประกอบการ” มีส่วนร่วม ในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม • ต้องซื่อสัตย์ / ยุติธรรม / จริงจัง
ผู้ประกอบการ • ต้องปฏิบัติ ตามกฎหมาย (กำกับดูแล) • ต้องมีจิตสำนึก รับผิดชอบต่อสังคม (มีหน่วยตรวจวัดของตนเอง) • ต้องไม่ร่วมมือ/ ต่อสู้กับเจ้าพนักงานที่ทุจริต • ต้องร่วมมือกับเจ้าพนักงานในการแก้ปัญหา ประชาชน • ต้องรู้สิทธิหน้าที่ ตามกฎหมาย • ต้องมีส่วนร่วมในการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม • เลือกสรรผู้บริหารท้องถิ่น • ร้องทุกข์ / ร้องเรียน • ตรวจสอบ / เฝ้าระวัง
ภารกิจของงานกฎหมายสาธารณสุขภารกิจของงานกฎหมายสาธารณสุข กฎหมายแม่บท 1. ออกกฎฯ /ประกาศฯ ระเบียบวิธีปฏิบัติ ปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสม 2.ฝึกอบรมเจ้าพนักงาน 3. เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์สู่ผู้ประกอบการ/ประชาชน 8. ศึกษาวิจัย/ ประเมินผล ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น 4. ตอบข้อหารือ เกี่ยวกับการปฏิบัติ ตามกฎหมาย 7. ตรวจสอบ เรื่องร้องเรียน และการอุทธรณ์ เกิดการบังคับใช้กฎหมาย 5. จัดทำโครงการสนับสนุนราชการส่วนท้องถิ่น 6. ติดตามนิเทศ งานกฎหมาย
การประสานงานกับจังหวัด/ ท้องถิ่น กรมอนามัย สนง. ปลัดฯ กระทรวง สธ. กรมส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่น กลุ่มส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จ. กอง/ สำนัก สาย สวล. ศูนย์ กม. กสพ. ศูนย์อนามัย ที่ 1-12 อบจ. สสจ. เมืองพัทยา สายบังคับบัญชา สสอ. เทศบาล นิเทศ/ สนับสนุน อบต. ส.อ.