480 likes | 710 Views
บทบาทของเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกับการปฏิบัติงานด้านมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารในจังหวัด. สมชาย ชาญณรงค์กุล รองผู้อำนวยการสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ โทร. 02-280-3882 โทรสาร 02-280-3886 E-mail: somchaic@acfs.go.th.
E N D
บทบาทของเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกับการปฏิบัติงานด้านมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารในจังหวัดบทบาทของเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกับการปฏิบัติงานด้านมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารในจังหวัด สมชาย ชาญณรงค์กุล รองผู้อำนวยการสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ โทร. 02-280-3882 โทรสาร 02-280-3886 E-mail: somchaic@acfs.go.th การบรรยายพิเศษในการประชุมสัมมนา กลยุทธ์สู่ความสำเร็จในการปฏิบัติงานของสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด วันที่ 7 กันยายน 2550 ณ โรงแรมปรินซ์พาเลซ กรุงเทพฯ จัดโดย สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
องค์ประกอบการบรรยาย • บทนำ • ความรู้เรื่องมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร • การดำเนินงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ด้านมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร • บทบาทของ กษ.จังหวัดในการสนับสนุนมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร • บทสรุป
ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าและศุลกากร (GATT) พัฒนาเป็นองค์การการค้าโลก (WTO) ในปี 2538 อยู่ภายใต้ UN • บทบาทสำคัญของ WTO • กำหนดข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศ • เวทีสำหรับการเจรจาต่อรอง ตกลง และขจัดข้อขัดแย้งในเงื่อนไขและกฏเกณฑ์ทางการค้าระหว่างประเทศสมาชิก • การลดความสำคัญของมาตรการทางภาษี และให้ความสำคัญต่อมาตรการที่มิใช่ภาษีมากขึ้น (NTBs) SPS/TBT Agreement • มาตรฐานสินค้า = NTBs ?
NTBs Inventory Part III Technical Barriers to Trade A General B Technical regulations and standards C Testing and certification arrangements “technical barriers to trade” Part IV Sanitary and Phytosanitary Measures A General B SPS measures including chemical residue limits. disease freedom, specified product treatment, etc. C Testing, certification and other conformity arrangements ที่มา : Ulrich Hoffman , UNCTAD secretariat
มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร Food Safety Food Standards International Standards
Office International des Epizooties • องค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ ก่อตั้งปี 1924 • กำหนดมาตรฐาน • สุขภาพสัตว์และสัตว์น้ำ • สวัสดิภาพสัตว์ • การชันสูตรโรค • ความปลอดภัยอาหารที่เกี่ยวเนื่องจากสัตว์ • สำนักงานใหญ่ : กรุงปารีส ฝรั่งเศส
Codex : Joint FAO/WHO Food Standards Programme • โครงการมาตรฐานอาหารของ FAO/WHO ก่อตั้งปี 1961/62 • วัตถุประสงค์ : ปกป้องสุขอนามัยผู้บริโภค/เป็นธรรมทางการค้า • มาตรฐานอาหารของ Codex • มาตรฐานอาหารที่เกี่ยวกับเรื่องทั่วไป (General Subject Standards) • มาตรฐานอาหารที่เกี่ยวกับสินค้าอาหาร (Commodity Standards) • มาตรฐานของกลุ่มภูมิภาค (Regional Standards) • สำนักงานใหญ่ : กรุงโรม อิตาลี
International Plant Protection Convention IPPC • อนุสัญญาว่าด้วยการอารักขาพืชระหว่างประเทศเริ่มปี 1952 • วัตถุประสงค์ : • สร้างความร่วมมือระหว่างประเทศในการควบคุมศัตรูพืชทั้งทางกฎหมายและทางวิชาการ แลกเปลี่ยนข้อมูล ประสานมาตรการและแนวทางปฏิบัติ • ครอบคลุม : พืชปลูก ผลิตภัณฑ์พืช พืชในสภาพธรรมชาติ • สำนักงานใหญ่ : กรุงโรม อิตาลี
มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร “FOOD SAFETY” • Physical • Microbiological • Hazardous Substances • Food Additives • Biotechnology
ความรู้เรื่องมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารความรู้เรื่องมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร
ความหมายของมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารความหมายของมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ระเบียบหรือแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะต่างๆ ของตัวสินค้าเกษตรวิธีและขั้นตอนการผลิตรวมถึงการดำเนินการเกี่ยวกับสุขลักษณะ ความปลอดภัยมาตรฐานจะต้องเกิดจากการร่วมกันระหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภค และต้องได้รับการยอมรับจากทั้งสองฝ่าย เพื่อให้มาตรฐานถูกนำมาใช้เป็นบรรทัดฐานในการดำเนินการทางการผลิตสินค้าเกษตรนั้น
วัตถุประสงค์ของการกำหนดมาตรฐานวัตถุประสงค์ของการกำหนดมาตรฐาน 1.เป็นเครื่องมือในการปรับปรุงคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตรให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด และมาตรฐานสากล 2. คุ้มครองเกษตรกรและผู้บริโภคให้ได้รับความเป็นธรรม 3. ใช้เป็นเครื่องมือในการอำนวยความสะดวกทางการค้า 4. เป็นเครื่องมือในการเจรจาทางการค้า
หลักการกำหนดมาตรฐาน 1. ต้องเป็นไปตามความต้องการ/วัตถุประสงค์ของภาคการผลิต วิชาการ รวมถึงเศรษฐกิจ 2. ต้องปกป้องผลประโยชน์ และส่วนได้ส่วนเสียของผู้ผลิตและผู้บริโภค 3. ต้องมาจากการเห็นพ้องต้องกัน (Consensus) 4. ต้องมีลักษณะที่ปฏิบัติได้ และทันต่อความก้าวหน้าทางวิชาการ เทคโนโลยี เศรษฐศาสตร์
หลักการกำหนดมาตรฐาน 5. ต้องมั่นใจว่าก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดทางเศรษฐกิจของประเทศ 6. ต้องเป็นตัวกระตุ้นหรือเร่งรัดให้มีการพัฒนาหรือให้มีการนำไปปฏิบัติ 7. ต้องเป็นเรื่องที่สามารถแก้ไข ทบทวน/ปรับปรุงให้ทันสมัยเสมอ
องค์ประกอบของระบบมาตรฐานสินค้าเกษตรองค์ประกอบของระบบมาตรฐานสินค้าเกษตร • มาตรฐาน • (Standard) • หน่วยรับรองระบบงาน • (Accreditation Body-AB) • หน่วยรับรอง • (Certification Body- CB)
ประเภทของมาตรฐาน • แบ่งตามผู้กำหนดมาตรฐาน • มาตรฐานภาครัฐ • มาตรฐานของ Codex , IPPC , OIE WTO ยอมรับ/อ้างอิง • มาตรฐานภาคเอกชน • มาตรฐาน EurepGAP, ISO, SwissGAP การค้าเฉพาะกลุ่ม
ประเภทของมาตรฐาน • แบ่งตามรูปแบบของมาตรฐาน • มาตรฐานสินค้า • ลำไย มังคุด ทุเรียน กล้วยไม้ ปลานิล เนื้อสุกร ไข่ไก่ ฯลฯ • มาตรฐานระบบ • การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี เกษตรอินทรีย์ การปฏิบัติที่ดีในการผลิตสัตว์น้ำ ฯลฯ • มาตรฐานทั่วไป • หลักการวิเคราะห์ความเสี่ยง สารพิษตกค้าง อาหารฮาลาล ฯลฯ
ขั้นตอนในการกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารขั้นตอนในการกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร 1 2 พิจารณาเรื่องที่กำหนดมาตรฐาน แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ/อนุฯเฉพาะกิจ 3 4 คณะอนุฯ พิจารณาร่าง จัดทำร่าง/ยอมรับมาตรฐานระหว่างประเทศ 5 IPPC CODEX OIE 6 ประชาพิจารณ์/เวียนขอความเห็น เสนอคณะกรรมการมาตรฐานฯแห่งชาติ 8 ประกาศใช้มาตรฐาน 7 แจ้ง WTOกรณีมาตรฐานบังคับ 9 มาตรฐานบังคับ มาตรฐานสมัครใจ ทบทวนมาตรฐาน (ครบ 5ปี/มีข้อเสนอ)
การดำเนินงานของ กษ. ด้านมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร
การดำเนินงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์การดำเนินงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • ความปลอดภัยอาหารเป็นนโยบายหลักของกระทรวง • ให้ความสำคัญทั้งความปลอดภัยคนไทยและการส่งออก • ใช้มาตรฐานเป็นเครื่องมือในการจัดการความปลอดภัยอาหาร - กำหนดมาตรฐาน - ส่งเสริมให้เกษตรกร/ผู้ประกอบการนำมาตรฐานไปใช้ - ควบคุม ตรวจสอบ รับรองตามมาตรฐาน • การประกาศใช้เครื่องหมายรับรองสินค้าเกษตรและอาหาร
กระบวนการควบคุมคุณภาพสินค้าเกษตรกระบวนการควบคุมคุณภาพสินค้าเกษตร ตลาด แหล่งวัตถุดิบ จัดเก็บ คัดเลือก - ผลิต ขนส่ง บรรจุ ผู้บริโภค Traceability - การตรวจสอบย้อนกลับ
ROAD MAP OF FOOD SAFETY ROAD MAP OF FOOD SAFETY ยุทธศาสตร์ตาม ยุทธศาสตร์ตาม ยุทธศาสตร์ที่ 1 ควบคุมคุณภาพปัจจัยการผลิต ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและรับรองระบบฟาร์มมาตรฐาน FROM FARM TO TABLE ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและรับรองโรงงาน/โรงงานแปรรูปมาตรฐาน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ควบคุมคุณภาพผลผลิต ยุทธศาสตร์ที่ 5 สนับสนุนและแก้ไขปัญหาการกีดกันทางการค้า
Road Map of Food Safety กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ Road Map of Food Safety กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปัจจัยการผลิต นำเข้า ฟาร์ม/ แหล่งผลิต โรงงาน/ โรงงานแปรรูป ผลผลิต สนับสนุน การค้า ผลลัพธ์ (Outcomes) ตรวจสอบปัจจัยการผลิต/ วัตถุดิบ/เคมีภัณฑ์/ วัตถุมีพิษเกษตร (กปศ. กปม. กวก.) ตรวจรับรอง ฟาร์มมาตรฐาน (กปศ. กปม. กวก.) ตรวจรับรอง โรงงานมาตรฐาน (กปศ. กปม. กวก.) ตรวจรับรองผลผลิต ก่อนส่งออก (กปศ. กปม. กวก.) เพิ่มมูลค่าการส่งออก สินค้าเกษตรและอาหาร เจรจาแก้ไขปัญหาทาง เทคนิค : SPS (มกอช./กรมที่เกี่ยวข้อง) Early Warning System (มกอช.) รับรอง CB ด้าน GAP,GMP /HACCP, Organic (มกอช.) ขึ้นทะเบียน Lab ที่ได้มาตรฐาน (มกอช.) ลดปัญหาการกักกัน สินค้าเกษตรและอาหาร ของไทย Pilot Project on RASFF (มกอช.) - แนะนำส่งเสริมสมาชิกสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรขึ้นทะเบียนฟาร์ม - ฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี การผลิตสินค้าเกษตรและอาหาร (กสส.) ตรวจสอบย้อนกลับ (มกอช. กปศ. กปม. กวก.) ประชาสัมพันธ์/ประเมินผล Food Safety (มกอช.) - จำแนกพื้นที่ (จัดประชุม/ เก็บข้อมูล/ประเมินผล) - บูรณาการแผนพัฒนาการเกษตร - ขึ้นทะเบียนเกษตรกร - ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต สินค้าเกษตรปลอดภัย/เกษตร อินทรีย์แก่เจ้าหน้าที่+เกษตรกร - จัดประชุม/สร้างเครือข่าย (กสก.) รณรงค์/ส่งเสริมการใช้ สัญลักษณ์ Q (มกอช.)
บทบาทของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์บทบาทของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พืช กิจกรรม ปศุสัตว์ ประมง มกอช. กำหนดมาตรฐาน กรมปศุสัตว์ กรมประมง กรมส่งเสริมการเกษตร ส่งเสริมการผลิตตามมาตรฐาน กรมวิชาการเกษตร กรมปศุสัตว์ กรมประมง ให้การตรวจสอบรับรอง มกอช. ทวนสอบระบบการรับรอง
เครื่องหมายรับรองมาตรฐานเครื่องหมายรับรองมาตรฐาน สินค้าเกษตรและอาหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • ประเภทการรับรอง • รับรองสินค้าอาหาร • รับรองระบบการจัดการด้านความปลอดภัย/คุณภาพอาหาร • รับรองสินค้าที่ไม่ใช่อาหาร • รับรองระบบอื่นๆ ที่ไม่ใช่ด้านความปลอดภัย/คุณภาพอาหาร
หน่วยรับรอง (CB)ดำเนินการให้การรับรอง กรมวิชาการเกษตร - สินค้าพืชและผลิตภัณฑ์ กรมประมง - สินค้าประมงและผลิตภัณฑ์ กรมปศุสัตว์ - สินค้าปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์ กรมพัฒนาที่ดิน - ปัจจัยการผลิต CB เอกชน - ตามขอบข่ายที่ได้รับการรับรอง สินค้าเกษตรและอาหาร แจ้งฐานข้อมูลการให้การรับรอง ให้เลขรหัสมาตรฐานที่ให้การรับรอง(GAP/GMP/HACCP/Organic) และหน่วยรับรอง กษ xx-xx-xxxxx-xxxxxxx-xxx -1 - 2 – 3 - 4 - 5 1= หน่วยรับรอง 2= ประเภทการรับรอง 3= มาตรฐานที่ให้การรับรอง 4= บริษัท/ผู้ประกอบการ/ฟาร์ม 5= ชื่อ/ชนิด/ประเภทสินค้า มกอช. • หน่วยรับรองระบบงาน (AB) • จัดทำหลักเกณฑ์เงื่อนไขการให้การรับรอง • ระบุประเภทการให้การรับรอง • ระบุมาตรฐานที่ใช้
รับสมัคร/ขึ้นทะเบียน/ออกรหัสเข้าสู่ระบบ GAP (กรมส่งเสริมการเกษตร) ผู้ให้คำปรึกษาแนะนำเกษตรกร (กรมส่งเสริมการเกษตร) ประเมินเบื้องต้นและรวบรวมเกษตรกรที่ผ่าน ปรับปรุง (กรมส่งเสริมการเกษตร) คณะผู้ตรวจรับรองนัดหมาย/ตรวจรับรองแปลงเกษตรกร (กรมวิชาการเกษตร) =ข้าว= กรมการข้าวรับผิดชอบ ไม่ผ่าน สรุปผลการตรวจรับรองแปลง (คณะกรรมการฯของ สวพ. 1-8) ผ่าน ส่งใบ Q ออกใบรับรองการผลิตพืช GAP(กวก.) ตรวจติดตามแปลงที่ได้รับการรับรอง(กวก.)
บทบาทของ กษ.จังหวัดในการสนับสนุนมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร
เกษตรและสหกรณ์จังหวัดกับมาตรฐานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกับมาตรฐาน คำสั่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ 83/2550 ลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2550 ข้อ 6 ให้เกษตรและสหกรณ์จังหวัดเป็นผู้ประสานการผลิตสินค้าเกษตรภายในจังหวัดให้มีมาตรฐานและมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค
บทบาทของเกษตรและสหกรณ์จังหวัด • ส่งเสริมฟาร์ม GAP/CoC • ส่งเสริมโรงงาน GMP/HACCP • ส่งเสริมการตลาดสินค้า Q • ส่งเสริมการควบคุมปัจจัยการผลิตและโรคระบาด • ศูนย์กลางข้อมูลด้านการมาตรฐาน
กลยุทธการดำเนินงานของเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกลยุทธการดำเนินงานของเกษตรและสหกรณ์จังหวัด • บรรจุงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารไว้ในยุทธศาสตร์ หรือแผนพัฒนาจังหวัด และ KPI ของหน่วยงานหลัก • บูรณาการงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในรูปคณะกรรมการส่งเสริมการมาตรฐานในระดับจังหวัด • บูรณาการแผนปฏิบัติการโครงการที่เกี่ยวข้องกับการมาตรฐานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในระดับจังหวัด
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมฟาร์ม GAP/CoC - ประชาสัมพันธ์ยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาจังหวัดด้านการส่งเสริมฟาร์มมาตรฐานให้ท้องถิ่นทราบ - เป็นผู้ประสานงานในการกำหนดเป้าหมายฟาร์มมาตรฐานระดับจังหวัด - ติดตามการดำเนินงานตามแผนการส่งเสริมของหน่วยงานหลัก
แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) ส่งเสริมโรงงาน GMP/HACCP - ประชาสัมพันธ์ยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาจังหวัดด้านการส่งเสริมโรงงานมาตรฐานให้ท้องถิ่นทราบ - เป็นผู้ประสานงานในการกำหนดเป้าหมายโรงงานมาตรฐานระดับจังหวัดร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง เช่น อุตสาหกรรมจังหวัด อบจ. หน่วยรับรองของ กษ. - ติดตามการดำเนินงานตามแผนการส่งเสริมของหน่วยงานหลัก
แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) ส่งเสริมการตลาดสินค้า Q - ประชาสัมพันธ์เชิงยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมการตลาดสินค้า Q ให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ - กำหนดตลาดเป้าหมายและแผนการส่งเสริมการตลาดสินค้า Q ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ประชาสัมพันธ์ ปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ จัดหาแหล่งรับซื้อ-แหล่งจำหน่าย - ติดตามการดำเนินงานตามแผนการส่งเสริมการตลาดของหน่วยงานหลัก
แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) ส่งเสริมการควบคุมปัจจัยการผลิต/โรคระบาด - สนับสนุนการปฏิบัติงานของสารวัตรเกษตร/สารวัตรปศุสัตว์ - ร่วมการประชาสัมพันธ์การควบคุมและการใช้ปัจจัยการผลิตที่ถูกต้องตามหลักทางวิชาการ - สนับสนุนการดำเนินงานควบคุมโรคระบาดของหน่วยงานหลัก
แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) ศูนย์ข้อมูลด้านการมาตรฐาน - แหล่งฐานข้อมูลทางการเกษตรเพื่อใช้ในการวางแผนและประเมินผลงานด้านการมาตรฐาน - แหล่งข้อมูลด้านการมาตรฐานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - วิเคราะห์และประเมินการปฏิบัติงานด้านการมาตรฐานของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การประสานงาน สนับสนุนและบรูณาการแผนปฎิบัติการ 1. ต่อยอดโครงการ Food Safety ในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน 2. สนับสนุนโครงการ GAP/CoC ของหน่วยงานหลัก 3. สนับสนุนการปฏิบัติงานโครงการเกษตรอินทรีย์ 4. สนับสนุนการดำเนินโครงการผลิตสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออก 5. ประสานงานเชื่อมโยงผู้ผลิตและผู้ค้าสินค้าเกษตรคุณภาพในระดับจังหวัด
การประสานงาน สนับสนุนและบรูณาการแผนปฎิบัติการ(ต่อ) 6. การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการมาตรฐาน เพื่อสร้างเครือข่ายในจังหวัด 7. สำรวจติดตามและศึกษาปัญหาการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพมาตรฐานและความปลอดภัยในระดับจังหวัด 8. ให้ความร่วมมือในการเตือนภัยเร่งด่วนกรณีเกิดปัญหาเกี่ยวกับความปลอดภัยสินค้าเกษตรและอาหาร 9. สนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานตรวจรับรอง (CB) 10. สร้างความเข้าใจและรณรงค์ความสำคัญด้าน Food Safety ในจังหวัด
มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ : มาตรฐานของประเทศ • มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารใช้เป็นเกณฑ์อ้างอิงในทางการค้า • หน่วยตรวจรับรอง : กปศ. กปม. กวก. กพด. • หน่วยสนับสนุน : กสก. กสส. สป.กษ. สศก. • หน่วยรับรองระบบงาน : มกอช. • สำนักเกษตรและสหกรณ์จังหวัด : • หน่วยราชการบริหารส่วนภูมิภาคสังกัด สป.กษ. • หน้าที่หลัก : จัดทำยุทธศาสตร์การเกษตรและวางแผนพัฒนาการเกษตรของจังหวัด • ติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติการตามแผนงาน/โครงการ • ความคาดหวังต่อสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดด้านมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร • Contact Point ของ กษ.
ผู้บริโภคปลอดภัย เกษตรกรไทยมั่งคั่ง Consumer’s Safety , Prosperity for All