1 / 17

การประเมินผลการควบคุมภายใน

การประเมินผลการควบคุมภายใน. Lectured By S. Sutthachai Accounting Department Faculty of Management Science Khon Kaen University Khon Kaen, Thailand. Performance Standard---Nature of work. 2120 การควบคุม (Control)

prisca
Download Presentation

การประเมินผลการควบคุมภายใน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินผลการควบคุมภายในการประเมินผลการควบคุมภายใน Lectured By S. Sutthachai Accounting Department Faculty of Management Science Khon Kaen University Khon Kaen, Thailand

  2. Performance Standard---Nature of work • 2120 การควบคุม (Control) กิจกรรมการตรวจสอบภายในควรมีส่วนช่วยให้องค์กรคงไว้ซึ่งการควบคุมที่มีประสิทธิผลโดยการประเมินประสิทธิผลและประสิทธิภาพของระบบการควบคุม และสนับสนุนให้มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง The internal audit activity should assist the organization in maintaining effective controls by evaluating their effectiveness and efficiency and by promoting continuous improvement.

  3. การประเมินผลการควบคุมภายในตามแนวคิดของ COSO • การประเมินผลเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญทำให้การควบคุมภายในมีความทันสมัยอยู่ตลอดเวลา • การประเมินผลต้องทำการประเมินการควบคุมภายในทั้ง 7 องค์ประกอบ และประเมินตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด (S, O, F, C) • ต้องประเมินผลให้ทราบถึงประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน • การประเมินผลไม่ใช่หน้าที่เฉพาะผู้ตรวจสอบภายใน แต่เป็นหน้าที่ของผู้บริหารด้วย

  4. ระดับการประเมิน • ระดับองค์กร(Entity Level) เป็นการประเมินโดยรวม การประเมินองค์ประกอบทุกองค์ประกอบภายในองค์กรจะทำการประเมินในช่วงแรกๆ และเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ • ระดับกิจกรรม(Activity Level)เป็นการประเมินแต่ละองค์ประกอบที่มีการดำเนินงานในแต่ละส่วนภายในองค์กร จะมีการประเมินถี่กว่าการประเมินระดับองค์กร และส่วนใหญ่เกิดจากผลการประเมินความเสี่ยงที่พบในแต่ละปี

  5. การเลือกเรื่องที่จะประเมินการเลือกเรื่องที่จะประเมิน ตามความเสี่ยง การทำความเข้าใจ การทำความเข้าใจโครงสร้างของระบบการควบคุมภายใน สภาพแวดล้อม การประเมินความเสี่ยง กิจกรรมการควบคุม ข้อมูลสื่อสาร ติดตามประเมินผล การประเมินความมีอยู่จริง มีวิธีการควบคุม อื่นชดเชย ไม่ใช่ มีอยู่จริง การประเมินผลขั้นต้น ใช่ ไม่ใช่ การประเมินการ ปฏิบัติงานจริง การประเมินการ ปฏิบัติงานจริงของ วิธีการชดเชย ประเมินความเสี่ยงใน ขั้นยอมรับได้ ไม่ใช่ ใช่ การประเมินผล ขั้นสุดท้าย การประเมินประสิทธิผล การสรุปผล กระบวนการประเมินผลการควบคุมภายใน

  6. การทำความเข้าใจ • การเลือกเรื่องที่จะประเมิน • การทำความเข้าใจเรื่องที่จะประเมิน • การรวบรวมเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ประเมิน • จัดประชุม

  7. การประเมินผลขั้นต้น การประเมิน • ความมีอยู่จริง • ความเพียงพอ • การเปลี่ยนแปลง • การปฏิบัติงานจริง

  8. การประเมินผลขั้นสุดท้ายการประเมินผลขั้นสุดท้าย • Substantive Test • ขึ้นอยู่กับผลการประเมินในขั้นต้น • เสียค่าใช้จ่ายมาก พิจารณาต้นทุนและประโยชน์ที่ได้รับ • เลือกประเมินจุดที่มีความเสี่ยงสูงมาก

  9. การสรุปผลและรายงาน • การสรุปผลและเสนอแนะทางแก้ไข • การแจ้งและขอความเห็นจากผู้รับการประเมินก่อนการจัดทำรายงานจริง • รูปแบบและวิธีการเป็นไปตามที่กำหนด • ติดตามผลการแก้ไข

  10. วิธีการประเมินและติดตามผลวิธีการประเมินและติดตามผล • กิจกรรมการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง (On going Monitoring activities) • การประเมินแบบแยกประเมิน (Separate Evaluation) • การผสมผสานการประเมินในข้อ 1 และ 2

  11. ขอบเขตและความถี่ของการประเมินติดตามขอบเขตและความถี่ของการประเมินติดตาม ขึ้นอยู่กับ • ระดับความมากน้อยของกิจกรรมควบคุมความเสี่ยง • ความสำคัญของการควบคุมเพื่อลดระดับความเสี่ยง

  12. บุคคลที่กระทำการประเมินและติดตามผลบุคคลที่กระทำการประเมินและติดตามผล • การประเมินผลด้วยตนเอง • หน่วยงานตรวจสอบภายใน • ผู้สอบบัญชีภายนอก • บุคคลภายนอกที่ได้รับมอบหมายจากองค์กร

  13. หลักเกณฑ์พื้นฐานในการจัดทำหลักฐานในการประเมินผลหลักเกณฑ์พื้นฐานในการจัดทำหลักฐานในการประเมินผล • ควรจัดทำให้ชัดเจน ถูกต้อง ครบถ้วน • ระบุชื่อกระดาษทำการ/หน่วยงาน หรือกิจกรรมที่ประเมิน วันที่ประเมิน ชื่อผู้จัดทำ คณะผู้สอบทาน • ระบุวัตถุประสงค์ แหล่งข้อมูล ขอบเขตงาน ข้อตรวจพบ และข้อสรุปที่ได้จากการประเมิน • คำอธิบายอื่นๆที่เห็นว่ามีความจำเป็น • กรณีพบข้อบกพร่อง ควรระบุวันที่ที่ตรวจพบ แหล่งข้อมูล ชื่อบุคคลที่ผู้ประเมินได้สัมภาษณ์หรือประชุมปรึกษา ผลจกการปรึกษา ชื่อบุคคลที่จะรับผิดชอบในการแก้ไข วันที่ที่จะทำการแก้ไข • ควรมีเลขรหัสอ้างอิง • เก็บเอกสารที่สำคัญต่อกรอ้างอิง

  14. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการควบคุมภายในเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการควบคุมภายใน • การจัดทำกระดาษทำการ • แบบฟอร์มประเมินองค์ประกอบ • แบบฟอร์มประเมินกิจกรรมควบคุม • แบบฟอร์มประเมินโดยรวม • การจัดทำแผนภาพ (Internal Control Flowchart) • แผนภาพแบบแนวนอน(Vertical Form) • แผนภาพแบบแนวตั้ง(Horizontal Form) • การใช้แบบสอบถาม(Internal Control Questionnaire; ICQ) • แบบสอบถามทั่วไป(General) • แบบสอบถามเฉพาะ (Specific)

  15. เทคนิคอื่นๆ • การบันทึกการสัมภาษณ์ ใช้ในกรณีกิจการขนาดเล็กและธุรกรรมไม่ซับซ้อน • การบันทึกการสังเกตการณ์การทำงาน • การเปรียบเทียบกิจกรรมการควบคุมกับมาตรฐานที่ควรจะเป็นของกิจกรรมนั้นๆ

  16. การรายงานการประเมินผลการควบคุมการรายงานการประเมินผลการควบคุม • การรายงานสำหรับผู้บริหารภายใน • การรายงานสำหรับบุคคลภายนอก

  17. ตัวอย่างแบบสอบถามการประเมินการควบคุมภายในตามแนวคิด COSO กรณีศึกษา

More Related