1 / 19

การบริหารจิต ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม

การบริหารจิต ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม. โดย เด็กหญิง เบญจมาศ สิมงาม ที่ปรึกษาโครงงาน ครู ทัศนีย์ ไซย เจริญ ครู ศราวุร ไซย เจริญ โรงเรียนวัดพวงนิมิต สำนักงานเขต พี้น ที่การศึกษา สระแก้ว เขต 1. การหารจิต.

Download Presentation

การบริหารจิต ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารจิต ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม โดย เด็กหญิง เบญจมาศ สิมงาม ที่ปรึกษาโครงงาน ครู ทัศนีย์ ไซยเจริญ ครู ศราวุรไซยเจริญ โรงเรียนวัดพวงนิมิต สำนักงานเขตพี้นที่การศึกษา สระแก้ว เขต 1

  2. การหารจิต • ๑. การตั้งใจให้มีสติสัมปชัญญะอยู่เสมอ คือ ผู้ฝึกจะต้องตั้งใจกำหนดรู้สึกตัวอยู่ทุกขณะไม่ว่าจะทำอะไรก็ต้องใคร่ครวญทำช้าๆ อย่ารวดเร็วเกินไป เช่น ในขณะเดิน ยืน นั่ง นอน จะต้องพยายามให้ตัวสติระลึกอยู่ตลอดเวลาทุกๆ อิริยาบถ และมีสติสัมปชัญญะรู้ตัวอยู่เสมอ เมื่อตั้งใจปฏิบัติตามวิธีดังกล่าวก็จะทำให้ผู้นั้นมีสติสัมปชัญญะสมบูรณ์ • ๒. การคบกับคนผู้มีสติปัญญามั่นคง คือ พยายามเข้าสมาคมกับคนผู้มีสติปัญญามั่นคงด้วยการทำ การพุด และการแสดงออกอื่นๆ ยกตัวอย่าง เช่น การเข้าไปพบปะสนทนากับพระสงฆ์ผู้ฝึกสมาธิมาดีแล้ว โดยพิจารณาจากการพูดและการกระทำ ท่านจะอยู่ในลักษณะสำรวมระมัดระวังอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทำให้เราผู้เข้าร่วมสมาคมด้วยเกิดการตั้งสติและมีสติสัมปชัญญะรู้ตัวสำรวมระมัดระวังตัวเช่นเดียวกับท่าน • ๓. การไม่คบคนที่มีจิตใจฟุ้งซ่านปั่นป่วย คือ คนใดที่มีสติฟั่นเฟือน หลงๆ ลืมๆ ซึ่งมีการกระทำการพูดผิดๆ ถูกๆ อยู่ตลอดนั้น เราไม่ควรจะไปคบด้วย เพราะการสมาคมกับคนประเภทนี้บ่อยๆ เข้าบางทีจะทำให้เราติดโรคสติฟั่นเฟือนได้ เว้นได้แต่เข้าไปคบด้วยความสงสาร เพื่อจะแนะนำเขาในบางครั้งบางคราวเท่านั้น • ๔. การมีใจน้อมไปในการมีสติ คืออยากเป็นคนมีสติมั่นคง โดยตัวเราเองต้องพยายามขวนขวายปลุกใจให้เห็นคุณค่าในการมีสติสัมปชัญญะแล้วปฏิบัติธรรมเพื่อนำจิต

  3. พฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสมพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม • หัวหน้าสาขาวิชาจิตเวชเด็กและวัยรุ่น  ภาควิชาจิตเวชศาสตร์  คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล •  การสอนเรื่องเพศแก่เด็กและวัยรุ่น  เป็นกระบวนการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับชีวิตมนุษย์  ตั้งแต่เกิดจนตาย  เป็นการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียน  และนอกระบบโรงเรียน  ที่จะให้บุคคลได้เรียนรู้ธรรมชาติความเป็นจริงของชีวิตและสังคม  เพื่อให้บุคคลมีความรู้  มีทัศนคติ  และมีพฤติกรรมถูกต้องในเรื่องเพศ  ตลอดจนสามารถปรับตัวตามพัฒนาการของชีวิตอย่างเหมาะสม(1)  การสอนดังกล่าวมีเนื้อหาที่ครอบคลุมกว้างขวาง  เกิดขึ้นต่อเนื่องตามพัฒนาการเด็กตั้งแต่เกิด และต่อเนื่องไปตามวัยจนถึงวัยรุ่น  เด็กเรียนรู้จากการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย  และจากตัวอย่างและการสอนโดยพ่อแม่  ครอบครัว  และสังคมสิ่งแวดล้อม  ไปตามระดับสติปัญญา  และการเปลี่ยนแปลงของตนเองและสิ่งแวดล้อม  พัฒนาเป็นเอกลักษณ์ทางเพศ  บทบาททางเพศที่เหมาะสม  ปรับตัวเอง และควบคุมตัวเองในเรื่องเพศได้  การสอนเรื่องเพศจำเป็นให้สอดคล้องตามพัฒนาการทางเพศปกติ  ผู้สอนเรื่องเพศจึงต้องศึกษาเรื่องพัฒนาการทางเพศตั้งแต่เด็กจนถึงวัยรุ่น  เพื่อให้จัดการเรียนรู้ได้อย่างถูกต้อง

  4. วิธีทำการบริหารจิต • 4. การฝึกสมาธิ •         4.1 ความหมายของสมาธิ •         สมาธิตามความหมายของพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ (2527) หมายถึง ความมีใจตั้งมั่น ความตั้งใจมั่นแห่งจิต การทำให้ใจสงบแน่วแน่ • ไม่ฟุ้งซ่าน การมีจิตกำหนดแน่วแน่อยู่ในสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ •         การทำสมาธิเบื้องต้น หรือ สมถกรรมฐาน คือ เป็นการทำให้จิตใจสงบ ซึ่งขณะที่ทำสมาธินั้นไม่มีความทุกข์ แต่เมื่อออกจากสมาธิยังมีความทุกข์อีก ส่วนสมาธิที่ทำให้พ้นทุกข์ • โดยสิ้นเชิง คือ การทำสมาธิเบื้องสูง หรือเรียกว่า  วิปัสสนากรรมฐาน (สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา,2547) •         ความหมายของสมาธิ ในหนังสือเรียนพระพุทธศาสนา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หมายถึง ความตั้งใจมั่น มุ่งมั่นอยู่ในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ไม่วอกแวก ซัดส่ายไปมา • ควบคุมอารมณ์ให้อยู่ในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ได้ตามที่ต้องการ จิตเป็นสมาธิย่อมก่อให้เกิดประโยชน์ (สุวิน ทองปั้น และคณะ,2545) •         วิธีภาวนา ตามพระอาจารย์มั่น คือ วิธีการสังเกตตัวเอง สังเกตจิตที่มีนิสัยหลุกหลิกไม่อยู่เป็นปกติสุข ด้วยการมีสติตามระลึกรู้ความเคลื่อนไหวของจิต • โดยมีธรรมบทใดบทหนึ่ง  เป็นคำบริกรรมเพื่อเป็นยารักษาจิตให้ทรงตัวอยู่ได้ด้วยความสงบสุขในขณะภาวนา วิธีหนึ่งที่ให้ผลดี คือ อาณาปานสติ เป็นการกำหนดจิตตามลมหายใจเข้าออก • ด้วยคำภาวนา พุทโธ พยายามบังคับใจให้อยู่กับอารมณ์แห่งธรรมบทที่นำมาบริกรรมขณะภาวนาพยายามทำอย่างนี้เสมอด้วยความไม่ลดละความเพียร

  5. วิธีทำการบริหารจิต (ต่อ) •    4.2 การนั่งสมาธิ •    ความหมายของ การนั่งสมาธิ ในหนังสือเรียนวิชาพระพุทธศาสนาและสื่อประกอบการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษา • ปีที่ 4 มีผู้ให้คำนิยามของการนั่งสมาธิ ดังนี้ •         การนั่งสมาธิตามที่ สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์ และอรุณี สัมศิริ (2547)และจรัส พยัคฆราชศักดิ์(2547) กล่าวไว้ เป็นการนั่งแบบพระพุทธรูปปางสมาธิ โดย • นั่งเอาเท้าขวาทับเท้าซ้าย เอามือซ้ายวางบนตัก ใช้มือขวาวางทับบนมือซ้าย นั่งตัวตรงตั้งสติให้มั่นอย่าให้ใจฟุ้งซ่าน กำหนดลมหายใจเข้าออกตามสบายตัวตั้งตรงหลับตากำหนด • ลมหายใจเข้าออก โดยเอาสติตั้งไว้ที่ท้อง ตามธรรมดาคนเราเมื่อหายใจเข้าท้องจะพองขึ้นและยุบลง และใช้บริกรรมภายในใจไม่ต้องออกเสียง ว่าพองหนอ ยุบหนอ กำหนดรู้ที่ • อาการเคลื่อนไหวของท้อง หายใจเข้าออกภาวนาในใจตามอาการพอง-ยุบของท้องตามความเป็นจริง ไม่คิดถึงเรื่องอื่นๆ เมื่อจะเลิกนั่งสมาธิก็กำหนดในใจว่า อยากเลิกหนอ • พร้อมกับยกมือขวาขึ้นช้าๆ คว่ำวางบนเข่า ยกมือซ้ายขึ้นช้าๆ คว่ำวางบนเข่า ลืมตาขึ้นช้าๆ กำหนดในใจว่าเห็นหนอ ต่อจากนั้นจึงเลิกนั่ง

  6. การบริหารจิตที่ส่งผลต่อพฤติกรรมทางเพศที่เอาไปใช้ในชีวิตประจำวันการบริหารจิตที่ส่งผลต่อพฤติกรรมทางเพศที่เอาไปใช้ในชีวิตประจำวัน • มิติของความมั่นคงของมนุษย์ •           ความมั่นคงของมนุษย์ในบริบทของสังคมไทยประกอบด้วย 10 มิติ ดังนี้ • มิติที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ • มิติสุขภาพอนามัย • มิติการศึกษา • มิติการมีงานทำและรายได้ • มิติครอบครัว • มิติความมั่นคงส่วนบุคคล • มิติการสนับสนุนทางสังคม • มิติสังคมวัฒนธรรม • มิติสิทธิและความเป็นธรรม • มิติการเมืองและธรรมาภิบาล

  7. คำคม จิตต รกเขถ เมธาผู้มีปัญญา พึงรักษาจิต

  8. ส่งงาน • ครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ • ครู ศราวุธร ไชยเจริญ

More Related