1 / 26

"มองโอกาสอุตสาหกรรม ผ่านเมืองหลวงใหม่พม่า"

"มองโอกาสอุตสาหกรรม ผ่านเมืองหลวงใหม่พม่า". สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. โดย ภวัต ตั้งตรงจิตร. 22 มีนาคม 2550. PHICHIT IDUSTRIAL ESTATE. KHON KAEN INDUSTRIAL ESTATE. EAST-WEST CORIDOR. SAVAN SE-NO SPECIAL ECONOMIC ZONE. MYAWADDY SPECIAL ECONOMIC ZONE. LAO BAO SPECIAL TRADE ECONOMIC ZONE.

Download Presentation

"มองโอกาสอุตสาหกรรม ผ่านเมืองหลวงใหม่พม่า"

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. "มองโอกาสอุตสาหกรรม ผ่านเมืองหลวงใหม่พม่า" สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดย ภวัต ตั้งตรงจิตร 22 มีนาคม 2550

  2. PHICHIT IDUSTRIAL ESTATE KHON KAEN INDUSTRIAL ESTATE EAST-WEST CORIDOR SAVAN SE-NO SPECIAL ECONOMIC ZONE MYAWADDY SPECIAL ECONOMIC ZONE LAO BAO SPECIAL TRADE ECONOMIC ZONE MAWLAMYINE SPECIAL ECONOMIC ZONE PHU BAI INDUSTRIAL ZONE PA-AN SPECIAL ECONOMIC ZONE DA NANG ECONOMIC ZONE EAST-WEST CORIDOR MYANMAR THAILAND LAOS PDR VIETNAM EAST-WEST CORIDOR

  3. Myanmar Main Sectors Output as Percentage of GDP 2002

  4. Myanmar Structure of Output and Growth of Output ที่มา : ADB 2005

  5. สินค้าส่งออกและนำเข้าที่สำคัญของพม่าสินค้าส่งออกและนำเข้าที่สำคัญของพม่า

  6. ประเทศคู่ค้าสำคัญของสหภาพพม่า 2542-2547 US$ million Source: ADB

  7. ประเทศคู่ค้าสำคัญของสหภาพพม่า 2542-2547 (ต่อ) US$ million Source: ADB2005

  8. มูลค่าการค้าชายแดนของสหภาพพม่า ปี 2545 US$ million Source: Department of Border Trade, Myanmar.

  9. นโยบายการลงทุน

  10. นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรม • เน้นการพัฒนาธุรกิจการเกษตร (Agri-business) อย่างเนื่องต่อ • เร่งพัฒนาภาคพลังงาน เพื่อเพิ่มกำลังการผลิตกระแสไฟฟ้า • เร่งเพิ่มผลผลิตส่วนเกินทางการเกษตร รวมถึงทั้งผลผลิตเนื้อสัตว์และการประมง เพื่อขยายการส่งออก • ส่งเสริมอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เพื่อสร้างมูลค่าผลผลิตเพิ่มต่อทางเกษตร เช่น ธัญพืช ฝ้าย อ้อย งา ถั่ว และดอกทานตะวัน • ส่งเสริมอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อทดแทนการนำเข้า เช่น สินค้าอุปโภค และสิ่งพิมพ์ เพื่อลดการขาดดุลการค้าและรักษาปริมาณเงินทุนสำรองต่างประเทศ • ขยายภาคอุตสาหกรรมการผลิตให้หลากหลาย โดยรัฐบาลพม่าให้การส่งเสริมรัฐวิสาหกิจของพม่าในการผลิต เครื่องจักร ยานพาหนะและอุปกรณ์ โทรทัศน์ อุปกรณ์สื่อสาร สิ่งทอ เครื่องใช้ไฟฟ้า น้ำตาล ยาง ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ และผลิตภัณฑ์จากไม้

  11. อุตสาหกรรมการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ อุตสาหกรรมการผลิต อุตสาหกรรมเหมืองแร่ อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร(ปศุสัตว์และประมง) อุตสาหกรรมการขนส่งและการคมนาคม อุตสาหกรรมที่นักลงทุนต่างชาติมาลงทุน

  12. อุตสาหกรรมแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร อุตสาหกรรมแปรรูปอาหารทะเล อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ อุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้าง เช่น อุตสาหกรรมผลิตปูนซีเมนต์ ปูนขาว อุตสาหกรรมเหมืองแร่ และพลังงาน (ก๊าซธรรมชาติ) โครงสร้างอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมในสหภาพพม่า ส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมที่ผลิตเพื่อทดแทนการนำเข้าหรือบริโภคภาคในประเทศ เช่น

  13. อุตสาหกรรมสื่งทอ อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมยาและเวชภัณฑ์ อุตสาหกรรมเซรามิก อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมทั่วไป และบำรุงรักษา โครงสร้างอุตสาหกรรมในภูมิภาคของสหภาพพม่า นครย่างกุ้ง มีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลาง-ขนาดเล็ก 155 แห่ง ประกอบด้วย

  14. เมืองมัณฑะเลย์ มีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลาง-ขนาดเล็ก 128 แห่ง ประกอบด้วย • อุตสาหกรรมสิ่งทอ • อุตสาหกรรมอาหาร • อุตสาหกรรมยาและเวชภัณฑ์ เขตมากุย มีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลาง-ขนาดเล็ก 7 แห่ง เขตสะกาย มีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลาง-ขนาดเล็ก 7 แห่ง เขตอิรวดี มีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลาง-ขนาดเล็ก 3 แห่ง เขตรัฐฉาน มีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลาง-ขนาดเล็ก 1 แห่ง

  15. โครงสร้างอุตสาหกรรมในพื้นที่ศึกษาโครงสร้างอุตสาหกรรมในพื้นที่ศึกษา โครงสร้างอุตสาหกรรมที่เมียวดี มีเพียงอุตสาหกรรมบริการขนส่ง ส่วนใหญ่เป็นบริการขนส่งสินค้าอุปโภคบริโภค วัสดุก่อสร้าง เข้าไปยังเมืองเมาะละแหม่ง และย่างกุ้ง

  16. อุตสาหกรรมประมง และห้องเย็น อุตสาหกรรมอาหาร 44 แห่ง อุตสาหกรรมผลิตสินค้าอุปโภคบริโภค 18 แห่ง อุตสาหกรรมเครื่องจักร 7 แห่ง อุตสาหกรรมครัวเรือน 4 แห่ง อุตสาหกรรมสิ่งทอ 2 แห่ง อุตสาหกรรมผลิตสินค้าเครื่องใช้ภายในบ้าน 1 แห่ง อุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ 1 แห่ง และอุตสาหกรรมอื่นๆ อีก 61 แห่ง โครงสร้างอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรมเมาะละแหม่ง

  17. ส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมขนาดเล็กหรือครัวเรือนเกี่ยวกับการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรเพื่อจะหน่ายภายในเมืองผะอัน และในประเทศ โครงสร้างอุตสาหกรรมผะอัน

  18. อุตสาหกรรมที่เหมาะสมในพื้นที่เป้าหมายอุตสาหกรรมที่เหมาะสมในพื้นที่เป้าหมาย ระยะสั้น (1-5 ปี) อุตสาหกรรมเน้นทรัพยากรธรรมชาติ อุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร  อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร อุตสาหกรรมแปรรูปปศุสัตว์  อุตสาหกรรมแปรรูปไม้  ซีเมนต์และวัสดุก่อสร้าง

  19. อุตสาหกรรมที่เหมาะสมในพื้นที่เป้าหมาย (ต่อ) ระยะสั้น (1-5 ปี) (ต่อ) อุตสาหกรรมเน้นแรงงานไม่มีฝีมือ สิ่งทอ รองเท้า ผลิตภัณฑ์จากหนังสัตว์ ของเล่น เฟอร์นิเจอร์คุณภาพสูงและต่ำ อุตสาหกรรมที่เน้นมนุษย์และเทคโนโลยี เครื่องใช้ไฟฟ้า เซรามิกและแก้ว เคมีภัณฑ์  อุปกรณ์การกษตร

  20. ระยะกลางถึงระยะยาว (5-10ปี) อุตสาหกรรมที่เน้นมนุษย์และเทคโนโลยี โรงงานโอดีเซล โรงงานผลิตชิ้นส่วนและประกอบรถยนต์ มอเตอร์ไซด์ และรถบรรทุกขนาดเล็ก เครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์ พลาสติกและยาง เคมีภัณฑ์และปุ๋ย

  21. ทำเลที่ตั้ง แยกการเมืองจากเศรษฐกิจ ดวงเมือง การย้ายศูนย์ราชการไปเมืองเนปิดอร์ ปินมานา

  22. ระยะเวลาการขอใบอนุญาตต่างๆ เพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายในการติดต่อประสานงานเพิ่มขึ้น ผลกระทบต่อการลงทุน

More Related