1 / 35

กองแผนงาน

กองแผนงาน. ตัวชี้วัด ที่ 1.1.6 รายได้ ครัวเรือน (ทั้งประเทศ) เพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดที่ 1.2.2 ร้อยละที่ลดลงของครัวเรือนยากจน เป้าหมายที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. ตัวชี้วัดที่ 1.1.6 การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด. กลุ่มงานนโยบายและยุทธศาสตร์. ตัวชี้วัด ที่ 1.1.6

Download Presentation

กองแผนงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กองแผนงาน ตัวชี้วัดที่ 1.1.6 รายได้ครัวเรือน (ทั้งประเทศ) เพิ่มขึ้นตัวชี้วัดที่ 1.2.2 ร้อยละที่ลดลงของครัวเรือนยากจน เป้าหมายที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. ตัวชี้วัดที่ 1.1.6 การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด กลุ่มงานนโยบายและยุทธศาสตร์

  2. ตัวชี้วัดที่ 1.1.6 รายได้ครัวเรือน (ทั้งประเทศ) เพิ่มขึ้น กลุ่มงานนโยบายและยุทธศาสตร์ กองแผนงาน กรมการพัฒนาชุมชน

  3. 1.1.6 รายได้ครัวเรือน (ทั้งประเทศ) เพิ่มขึ้น • เป็นตัวชี้วัดระดับกระทรวง ของกระทรวงมหาดไทย • หน่วยรับผิดชอบหลัก สำนักนโยบายและแผน สป. และกรมการพัฒนาชุมชน • หน่วยสนับสนุน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กรมการปกครอง และอื่นๆ ฐานข้อมูลการดำเนินงาน ฐานข้อมูลรายได้ครัวเรือนทั้งประเทศปี 2554 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ซึ่งมีรายได้เฉลี่ย/คน/ปี เท่ากับ 69,708 บาท เป้าหมายการดำเนินงาน ค่าคะแนนระดับ 3 เท่ากับ +10 % และช่วงปรับคะแนนเท่ากับ +/- 2.5

  4. มติเกี่ยวกับตัวชี้วัด 1.1.6 รายได้ครัวเรือน (ทั้งประเทศ) เพิ่มขึ้น

  5. การแจ้งให้หน่วยงานดำเนินการการแจ้งให้หน่วยงานดำเนินการ หนังสือ ที่ มท 0211.3/5644-6, ว1976 วันที่ 9 พฤษภาคม 2556 1) ให้ ผวจ. กำกับดูแลการขับเคลื่อนตัวชี้วัด และถือเป็นภารกิจสำคัญของจังหวัดที่ต้องเน้นย้ำในการประชุมประจำเดือนทุกครั้ง 2) ให้ สพจ. เป็นหน่วยงานหลักในการบูรณาการขับเคลื่อนตัวชี้วัดในพื้นที่ 3) ให้ พช. เร่งดำเนินการจัดเก็บข้อมูลรายได้ครัวเรือนในเขตชนบท และสนับสนุนการจัดเก็บข้อมูลรายได้ครัวเรือนในเขตเมือง 4) ให้ สถ. กำชับ อปท. ดำเนินการจัดเก็บ จปฐ. ในเขตเมืองทั้งหมด 5) ให้ พช. สถ. ปค. ตรวจสอบข้อมูลโครงการกิจกรรมที่ส่งเสริมสนับสนุนการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาสให้กับประชาชนและเร่งรัดการดำเนินงานโครงการโดยเร็ว 6) ให้ทุกหน่วยงานรายงานผลการดำเนินงาน โดยให้ พช. รวบรวม ประมวลผลเสนอกระทรวงมหาดไทย 2 ครั้ง คือ 28 มิถุนายน 2556 และ 30 กันยายน 2556

  6. ภารกิจของหน่วยงานต่างๆ ดังนี้

  7. กิจกรรมที่ดำเนินการ เด็ก =Fix it Center, 1 โรงเรียน 1 อาชีพ ทำงาน = เพิ่มค่าแรง,จำนำข้าวและพืชหลัก ราคาสินค้าเกษตร 1.เพิ่มรายได้ สังคม/เศรษฐกิจ = เบี้ยยังชีพ หลักประกันรายได้ จัดสวัสดิการ บำบัดทุกข์ บำรุงสุข ภาคธุรกิจ = ส่งเสริมการลงทุนเพิ่มคุณภาพ การตลาด SMEs OTOP เด็ก =กองทุนกู้ยืม 1อำเภอ1ทุน ค่าเรียนฟรี อาหารฟรี นมฟรี กิจกรรม ทำงาน = พักหนี้เกษตรกรพักหนี้ครัวเรือน เครดิตเกษตรกร 2.ลดรายจ่าย สังคม/เศรษฐกิจ =เครดิตพลังงาน คุมราคาสินค้า ประกันสุขภาพ แพทย์ฉุกเฉิน ภาคธุรกิจ = ลดภาษี สินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ กองทุนพลังงาน เด็ก = เรียนรู้ผ่าน Tablet กองทุนตั้งตัวได้ ทำงาน = รถคันแรก บ้านหลังแรก กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 3.ขยายโอกาส สังคม/เศรษฐกิจ = กทบ.SML กองทุนพัฒนาเมือง เยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ ภาคธุรกิจ = ช่วยเหลือ SMEs OTOP to SMEs ก้าวสู่อาเซียน

  8. การวิเคราะห์ฐานข้อมูล จปฐ. พ.ศ. 2556 รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีจากข้อมูล จปฐ. พ.ศ. 2556 เทียบกับระดับเป้าหมายที่กลุ่มจังหวัดต้องดำเนินการ

  9. โครงการยกระดับรายได้ครัวเรือน (ทั้งประเทศ) เพิ่มขึ้น เป็นโครงการที่กรมการพัฒนาชุมชนจัดทำขึ้นเพื่อให้คณะกรรมการขับเคลื่อนกิจกรรม และหน่วยปฏิบัติการ สามารถขับเคลื่อนตัวชี้วัดที่ 1.1.6 ให้บรรลุเป้าหมาย โดยเป็นค่าใช้จ่ายในการติดตามการปฏิบัติงานในพื้นที่ของคณะกรรมการ หรือสนับสนุนกิจกรรมลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส และการบริหารการจัดเก็บข้อมูลตามความเหมาะสม

  10. ผลการดำเนินงานงานกิจกรรมตามโครงการผลการดำเนินงานงานกิจกรรมตามโครงการ • มีคำสั่งคณะกรรมการยกระดับรายได้ครัวเรือนเพิ่มขึ้นของจังหวัด เป็นกลไกขับเคลื่อนกิจกรรมลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส และกลไกบริหารการจัดเก็บข้อมูล • คณะกรรมการ คณะทำงาน คณะติดตามประเมินผล และหน่วยปฏิบัติการ มีความเข้าใจเป้าหมายของการดำเนินงานในทิศทางเดียวกัน • มีแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนกิจกรรมลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส และบริหารการจัดเก็บข้อมูลรายได้ของจังหวัดอย่างต่อเนื่อง • มีกิจกรรมลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส การบริหารการจัดเก็บข้อมูล และการติดตามประเมินผล ตามความเหมาะสม

  11. หลักฐานเชิงประจักษ์ของหน่วยงาน สพจ. • หนังสือสั่งการจากกระทรวงมหาดไทย กรมการพัฒนาชุมชน • คำสั่งมอบหมายให้หน่วยงานภายในจังหวัดดำเนินการขับเคลื่อนกิจกรรม จะเป็นคำสั่งของ ศจพ.จ. ให้มีอำนาจหน้าที่ หรือ คำสั่งจังหวัดที่แต่งตั้งให้ขับเคลื่อนตัวชี้วัด ๑.๑.๖ • แผนการปฏิบัติงาน และแผนการติดตามผลการดำเนินงาน • หลักฐานการติดตามผล ได้แก่ สำเนาบันทึกเสนอผู้บริหาร หรือบันทึก พช.๖ หรือบันทึกตรวจเยี่ยมต่างๆ • สำเนารายงานผลการดำเนินงาน SAR

  12. หลักฐานเชิงประจักษ์ของหน่วยงาน สพจ. • บันทึกสรุปผลการดำเนินงานเมื่อสิ้นปีงบประมาณ • สรุปโครงการที่หน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่จังหวัดดำเนินการ • ภาพถ่ายกิจกรรม • หลักฐานอื่นๆ ที่จังหวัดเห็นว่าเหมาะสม

  13. ตัวชี้วัด 1.2.2 ร้อยละที่ลดลงของครัวเรือนยากจนเป้าหมาย ที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. กลุ่มงานนโยบายและยุทธศาสตร์ กองแผนงาน กรมการพัฒนาชุมชน

  14. เป้าหมาย -ยกระดับรายได้ของครัวเรือนยากจนที่ตกเกณฑ์รายได้จากการสำรวจข้อมูล จปฐ. ปี พ.ศ. 2555 จำนวน 105,345 ครัวเรือน ให้มีรายได้ผ่านเกณฑ์ จปฐ. (ไม่ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี) อย่างน้อยร้อยละ 50 ของจำนวนครัวเรือนที่ตกเกณฑ์รายได้ทั้งหมด • พื้นที่ดำเนินการ -ครอบคลุมพื้นที่ 73 จังหวัด (มี 3 จังหวัดไม่มีครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2555 คือ ปทุมธานี นนทบุรี และภูเก็ต) 715 อำเภอ 3,807 ตำบล 19,306หมู่บ้าน • วิธีดำเนินการ - สร้างความรู้ ความเข้าใจ - สนับสนุนงบฯ ให้จังหวัดดำเนินโครงการการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการตาม 4 กระบวนงาน: ชี้เป้าชีวิต จัดทำเข็มทิศชีวิต บริหารจัดการชีวิต และดูแลชีวิต • งบประมาณ 63,536,900 บาท

  15. กำหนดเกณฑ์การให้คะแนน 5 ระดับ

  16. บริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ โครงการ • ชี้เป้าชีวิต บริหารจัดการชีวิต จัดทำเข็มทิศชีวิต ดูแลชีวิต การบริหารจัดการ ครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ ครัวเรือนยากจน (รายได้เฉลี่ยต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี) 105,345ครัวเรือน • มีรายได้เพิ่มขึ้น • มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น • มีภูมิคุ้มกันที่มั่นคง • สามารถพึ่งตนเองได้

  17. กระบวนการการขับเคลื่อนตัวชี้วัด : ด้วยการบริหารจัดการชีวิตครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ: ชี้เป้าชีวิต จัดทำเข็มทิศชีวิต บริหารจัดการชีวิต และดูแลชีวิต งบประมาณขับเคลื่อน 63,536,900บาท กระบวนงานที่ 1 ชี้เป้าชีวิต สร้างความความเข้าใจนโยบายการแก้ไขปัญหา ความยากจน กระทรวงมหาดไทย ด้วยกระบวนการ บริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ กำหนดแนวทางการบูรณาการโครงการ/กิจกรรม/งบประมาณ โดยยึดครัวเรือนยากจนเป็นเป้าหมายร่วม 1 2 สร้างและบูรณาการทีมปฏิบัติการตำบลเพื่อเข้าถึงครัวเรือนยากจน 3 จัดเวทีตรวจสอบข้อมูลและจำแนกครัวเรือนยากจนเป้าหมาย

  18. กระบวนงานที่ 2 จัดทำเข็มทิศชีวิต วิเคราะห์ต้นทุน ศักยภาพของครัวเรือนยากจน โดยศึกษาทางเลือกที่สอดคล้องกับศักยภาพและมีความเป็นไปได้ 1 จัดทำเข็มทิศชีวิต (แผนที่ชีวิต) และสร้างความเคารพต่อข้อผูกพันในเข็มทิศชีวิตระหว่างชุดปฏิบัติการตำบลและครัวเรือนยากจน 2 3 จัดทำสมุดบันทึกครัวเรือน (Family Folder)

  19. กระบวนงานที่ 3 บริหารจัดการชีวิต 1 บูรณาการแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามเข็มทิศชีวิต บรรจุในแผนชุมชน แผนพัฒนาตำบล/อำเภอ/จังหวัด สนับสนุนครัวเรือนยากจนบริหารจัดการชีวิต * พัฒนาตนเองโดย : การลด ละ เลิกอบายมุข ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ และส่งเสริมการออม * ชุมชน/ผู้นำชุมชนสนับสนุนโดย : กองทุนชุมชน สนับสนุนเงินทุนประกอบอาชีพ แก้ปัญหาหนี้ นอกระบบ จัดสวัสดิการ ให้การสงเคราะห์ ลงแขก ซ่อมแซมบ้านเรือน ลงแขกช่วยแรงงาน * หน่วยงานราชการ ภาคเอกชน/มูลนิธิ สนับสนุนปัจจัย การผลิต ความรู้ เพิ่มทักษะอาชีพ และให้การสงเคราะห์ 2

  20. กระบวนงานที่ 4 ดูแลชีวิต การติดตาม สนับสนุนการดำเนินงานโดยคณะทำงานระดับจังหวัด/อำเภอ/ตำบล และสนับสนุนชุมชนให้มีส่วนร่วมในการดูแลชีวิตครัวเรือนยากจน 1 จัดเวทีนำเสนอผลงานระดับจังหวัด แสดงผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการดำเนินงานปีต่อปี 2 สรุปผลการดำเนินงาน รายงานกรมการพัฒนาชุมชน/กระทรวงมหาดไทย ทราบ รวมถึงเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานแก่สาธารณชน 3

  21. ผลการวิเคราะห์ครัวเรือนเบื้องต้นผลการวิเคราะห์ครัวเรือนเบื้องต้น

  22. ผลการดำเนินงาน

  23. ระบบสารสนเทศในการสนับสนุนการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการระบบสารสนเทศในการสนับสนุนการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ • ระบบบันทึกข้อมูล

  24. ระบบสารสนเทศในการสนับสนุนการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการระบบสารสนเทศในการสนับสนุนการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ • ข้อมูลครัวเรือนที่บันทึกข้อมูลเรียบร้อยแล้ว

  25. ระบบสารสนเทศในการสนับสนุนการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการระบบสารสนเทศในการสนับสนุนการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ • ตัวอย่างสรุปรายงานระดับประเทศ

  26. ประเด็นขอความร่วมมือกับจังหวัดประเด็นขอความร่วมมือกับจังหวัด • จัดเตรียมแฟ้มเอกสารและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ PA 1.2.2 ให้เป็นระบบ สามารถสืบค้นง่าย • เตรียมความพร้อมบุคลากรที่รับผิดชอบตัวชี้วัดทุกระดับ เพื่อรองรับการตรวจติดตาม/ประเมินผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดฯ จาก TRIS และ กพร. โดย - จัดทำประเด็นที่คาดว่าจะถูกซักถาม - ซักซ้อมความเข้าใจกระบวนการ ขั้นตอนและวิธีการในการขับเคลื่อนตัวชี้วัดให้บรรลุเป็นหมาย ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน • จัดทำสื่อนำเสนอผลการดำเนินงานตามคำรับรองฯ ที่น่าสนใจ สั้น กระชับ ชัดเจน สามารถตอบโจทย์ ได้ทุกประเด็น

  27. ตัวชี้วัด 1.2.4 การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด กลุ่มงานนโยบายและยุทธศาสตร์ กองแผนงาน กรมการพัฒนาชุมชน

  28. ตัวชี้วัดที่ 1.2.4 การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด หน่วยวัด :จำนวน น้ำหนัก: ร้อยละ 3 • ตัวชี้วัดการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประกอบด้วย 7 กลยุทธ์ เป็นJoint KPI ระหว่างกระทรวง 9 กระทรวง และ 2 หน่วยงาน ในการขับเคลื่อนระดับพื้นที่ • กรมการพัฒนาชุมชน รับผิดชอบดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด กลยุทธ์ 2 : การสร้างพลังสังคมและพลังชุมชนเอาชนะยาเสพติด • การพิจารณาผลสำเร็จของการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ใช้ผลจากการดำเนินงานภาพรวมทั้งประเทศของสำนักงาน ป.ป.ส. คือ 1) ปริมาณยาเสพติดที่จับกุมได้เพิ่มขึ้น และ 2) จำนวนผู้เสพ/ผู้ติด/ผู้ค้ายาเสพติดลดลง • การให้คะแนนจะพิจารณาเปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับเกณฑ์แล้วนำผลคะแนนที่ได้คำนวณค่าคะแนนตามน้ำหนักร้อยละที่หน่วยงานได้รับ กลุ่มงานนโยบายและยุทธศาสตร์ กองแผนงาน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  29. ภารกิจกรมการพัฒนาชุมชนภารกิจกรมการพัฒนาชุมชน ในการสร้างพลังสังคมและพลังชุมชนเอาชนะยาเสพติด กระบวนการการขับเคลื่อนตัวชี้วัด : ด้วยการดำเนินการตามแนวทางการดำเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดิน ประจำปี 2556

  30. เป้าหมายการดำเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินปี 2556 เพื่อขับเคลื่อนตัวชี้วัด 1.2.4

  31. งบประมาณและแนวทางการเสริมสร้างความเข้มแข็งกองทุนแม่ฯ ปี 2556 ฐานข้อมูล ปี ๒๕๕๕ (2,734,480 บาท) 1. เสริมสร้างความเข้มแข็งกองทุนแม่ของแผ่นดิน 1.1 ประชุมสร้างความเข้าใจเจ้าหน้าที่ (ดำเนินการแล้ว 15-17 พ.ย. 55) 1.2 ฝึกอบรมวิทยากรกระบวนการสร้างความเข้มแข็งกองทุนแม่ฯ (ศูนย์ศึกษาการพัฒนาชุมชน) 2. จัดทำเอกสารจัดการความรู้กองทุนแม่ฯ แก้ปัญหายาเสพติด 1. (จังหวัด) พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับ Bและ C 2. (จังหวัด) ประชุมเตรียมหมู่บ้านต้นกล้ากองทุนแม่ของแผ่นดิน 3. (อำเภอ) พัฒนาและขยายผลศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ฯ 4. (อำเภอ) สรุปบทเรียนองค์ความรู้กองทุนแม่ฯ แก้ปัญหายาเสพติด 5. (หมู่บ้าน) ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการหมู่บ้านต้นกล้าฯ (26,230,520 บาท)

  32. หลักฐานเชิงประจักษ์ • ฐานข้อมูลกองทุนแม่ของแผ่นดิน ข้อมูลต้นกล้ากองทุนแม่ของแผ่นดิน ข้อมูลศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน • แผนการปฏิบัติงานและแผนการติดตามงาน • ข้อมูลผลการตรวจสุขภาพกอทุนแม่ของแผ่นดินตามแนวทางที่กำหนด • รายชื่อคณะกรรมการกองทุนแม่ฯและรายชื่อเครือข่ายกองทุนแม่ฯ ฯลฯ • การส่งเสริมศูนย์เรียนรู้ฯ และกิจกรรมที่ดำเนินการในศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน • กิจกรรมที่กองทุนแม่ของแผ่นดินขับเคลื่อนกิจกรรม เช่น การรณรงค์ การแก้ไข การป้องกันยาเสพติด การเพิ่มทุนกองทุนแม่ของแผ่นดิน การอบรม สัมมนา การจัดค่าย การประกวด การยกย่องเชิดชูเกียรติ เป็นต้น • ปัจจัยที่ได้สนับสนุนให้กองทุนขับเคลื่อนกิจกรรมทั้งงบประมาณของกรมฯ และงบประมาณภายนอก เช่น ป.ป.ส. อปท. ศพส.จ. ศพส.อ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ฯลฯ • ทำเนียบกองทุนแม่ของแผ่นดิน ฯ • ภาพถ่ายกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ • เอกสารการถอดบทเรียน จัดการความรู้ • การฝึกอบรมและพัฒนาเยาวชนด้านยาเสพติด • สื่อที่ใช้ในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์กิจกรรมกองทุนแม่ของแผ่นดิน • หลักฐานอื่นที่จังหวัดเห็นว่าเป็นประโยชน์

  33. ขอบคุณครับ กลุ่มงานนโยบายและยุทธศาสตร์ กองแผนงาน กรมการพัฒนาชุมชน

More Related