270 likes | 522 Views
ศ. 401 เศรษฐศาสตร์การเมือง. โธมัส โรเบิร์ต มัลธัส Thomas Robert Malthus. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมภายหลังสมิธ. การปฏิวัติอุตสาหกรรมตั้งแต่ 1750 การใช้เครื่องจักรในการผลิตอุตสาหกรรม การแพร่หลายของระบบโรงงานอุตสาหกรรม การเกิดขึ้นของชนชั้นคนงาน การว่างงาน ค่าจ้างต่ำ ชั่วโมงทำงานยาวนาน
E N D
ศ.401 เศรษฐศาสตร์การเมือง โธมัส โรเบิร์ต มัลธัส Thomas Robert Malthus
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมภายหลังสมิธการเปลี่ยนแปลงทางสังคมภายหลังสมิธ • การปฏิวัติอุตสาหกรรมตั้งแต่ 1750 • การใช้เครื่องจักรในการผลิตอุตสาหกรรม • การแพร่หลายของระบบโรงงานอุตสาหกรรม • การเกิดขึ้นของชนชั้นคนงาน • การว่างงาน ค่าจ้างต่ำ ชั่วโมงทำงานยาวนาน • การล่มสลายของวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม • วิถีชีวิตแบบปัจเจกชนในเมือง
ชีวิตการทำงานที่กำหนดโดยเครื่องจักรชีวิตการทำงานที่กำหนดโดยเครื่องจักร • การเติบโตของเมืองและมหานคร • สลัม แหล่งเสื่อมโทรม ขาดสาธารณสุข โรคระบาด • ขอทาน อาชญากรรม การค้าทางเพศ มลภาวะ • ความขัดแย้งทางชนชั้นที่รุนแรง • The Luddite Revolt ปลายศ.18 ถึงต้น ศ.19 • จลาจลและความรุนแรง 1811-1848 • 1799 สหภาพแรงงานแห่งแรกก่อตั้งและถูกปราบ
ความขัดแย้งระหว่างชนชั้นนายทุนกับชนชั้นเจ้าที่ดินความขัดแย้งระหว่างชนชั้นนายทุนกับชนชั้นเจ้าที่ดิน • สงครามอังกฤษกับนโปเลียน • การปิดล้อมทางเศรษฐกิจและการห้ามค้ากับยุโรป • ราคาธัญพืชขึ้นสูง ราคาที่ดินและค่าเช่าขึ้นสูง • ค่าจ้างตัวเงิน (money wages) ขึ้นสูง • กำไรของนายทุนตกต่ำลง • 1815 สิ้นสงคราม รัฐสภาผ่าน The Corn Laws จำกัดการนำเข้าสินค้าเกษตร
โธมัส โรเบิร์ต มัลธัส (1766-1834) • 1788 จบการศึกษาจาก Jesus College, Cambridge เป็นพระในนิกายอังกฤษ (Church of England • 1798 ‘An Enquiry on the Principle of Population as It Affects the Future Improvement of Society, with Remarks on the Speculations of Mr. Godwin, M. Condocet, and Other Writers’ (ไม่ระบุชื่อผู้แต่ง). • 1803 พิมพ์ครั้งที่สอง เพิ่มเติมข้อมูล ระบุชื่อผู้แต่ง
ทฤษฎีประชากรล้นเกิน • กรรมสิทธิ์ส่วนบุคคลในทรัพย์สินและการสมรสเป็นรากฐานของการก่อตัวทางสังคม • การแบ่งสามชนชั้นเป็นธรรมชาติและถาวร • กำหนดจากลักษณะของกลุ่มคนแต่ละชนชั้น • ความปรารถนาทางเพศ (sexual desire) เป็นพลังขับดันพื้นฐานของมนุษย์
ประชากรที่เพิ่มขึ้นตามธรรมชาติ โดยปราศจากปัจจัยยับยั้ง (checks) จะเติบโตในอัตราเรขาคณิต (เพิ่มเป็นสองเท่าในทุก 25 ปี) • การผลิตอาหารเพิ่มขึ้นในอัตราเลขคณิต • การลดน้อยถอยลงของผลตอบแทนในเกษตรกรรม • ความไม่สมดุลระหว่างการเพิ่มประชากรกับการเพิ่มการผลิตอาหารต้องถูกแก้ไขด้วย “ปัจจัยยับยั้ง” (checks)
Positive checks: เพิ่มอัตราการตาย • ความอดอยาก สงคราม โรคระบาด ความยากจน • Preventive checks: ลดอัตราการเกิด • เป็นหมัน การลดเลิกทางเพศ การคุมกำเนิด • การยับยั้งด้วยศีลธรรม (moral restraint) คือเลื่อนการสมรสออกไป สมรสก็ต่อเมื่อมีความสามารถที่จะเลี้ยงดูบุตรเท่านั้น
ชนชั้นล่างทุกข์และยากจนเพราะไม่มี moral restraint • การเพิ่มประชากรทำให้ค่าจ้างอยู่ ณ ระดับพอยังชีพ • เพิ่มค่าจ้าง ทำงานน้อยลง ผลิตลดลง บริโภคมากขึ้น มีบุตรเพิ่มขึ้น คนงานทุกข์และยากจนลง • “กฎเหล็กของค่าจ้าง” (the iron law of wages) • ชนชั้นสูงมี moral restraint • จำกัดจำนวนบุตร เอื้อต่อการสะสมความมั่งคั่ง • เป็นบ่อเกิดของวัฒนธรรม ภูมิปัญญา และความกล้าหาญ
นโยบายรัฐ • กฎหมายคนจน (Poor Laws) ที่ช่วยเหลือคนจนและอุดหนุนบุตร เป็นผลร้ายต่อคนงานและสังคม • กระตุ้นให้คนงานมีบุตรมาก แต่มีแรงจูงใจน้อยในการทำงาน --- คนงานยิ่งทุกข์และยากจน • สนับสนุน Corn Laws จำกัดการค้าธัญพืช • ลัทธิปกป้องทางการค้าในสินค้าเกษตร • เพื่อเพิ่มราคาและกระตุ้นการผลิตธัญพืชในประเทศ
ผลทางสังคมการเมือง • รัฐสภาผ่านกฎหมายแก้ไข Poor Laws of 1834 • ไม่ช่วยเหลือในกรณีผู้ว่างงานที่ไม่พิการ • จัดตั้งสถานกักกัน (houses) แยกครอบครัวคนว่างงานและยากจน • ใช้แรงงานหนัก ทารุณกรรมในสถานกักกัน • เป็นตราบาปของคนจน • มีผลบังคับใช้กระทั่งการปฏิรูปสวัสดิการต้นศ.20
ผลทางเศรษฐศาสตร์การเมืองผลทางเศรษฐศาสตร์การเมือง • ไม่มีหลักฐานสนับสนุนสมมติฐานการเพิ่มประชากรและการเพิ่มอาหารที่ต่างกัน • ข้อมูลสหรัฐอเมริกา รวมผู้อพยพเข้าเมือง • ทฤษฎีการเปลี่ยนผ่านประชากร (Theory of demographic transition) • อัตราการเกิดสูง อัตราการตายสูง ประชากรคงที่ • อัตราการเกิดสูง อัตราการตายต่ำ ประชากรเพิ่มเร็ว • อัตราการเกิดลด อัตราการตายต่ำ ประชากรชะลอตัว • อัตราการเกิดต่ำ อัตราการตายต่ำ ประชากรคงที่/ลดลง
การผลิตเกษตรเพิ่มเร็วกว่าการเพิ่มประชากรการผลิตเกษตรเพิ่มเร็วกว่าการเพิ่มประชากร • ในระยะสั้น การลดน้อยถอยลงของผลตอบแทนเนื่องจากเทคนิคคงที่และมีปัจจัยการผลิตคงที่ • ในระยะยาว ปัจจัยการผลิตทั้งหมดแปรผันได้ • เทคโนโลยีเกษตรเอาชนะการลดน้อยถอยลงของผลตอบแทนได้ในระยะยาว • เกษตรกรรมถูกแปรเป็นอุตสาหกรรมทุนนิยม ปัจจัยที่ดินมีความสำคัญน้อยลง
ทำไมยังมีความอดอยากยากจน?ทำไมยังมีความอดอยากยากจน? • NGOs สังคมนิยม: การขูดรีดในระบบทุนนิยม • เศรษฐศาสตร์: ผลรวมจากปัจจัยการเมือง สังคม และสถาบัน • ปัจจัยการเมืองและสังคมที่ตกทอดจากสังคมก่อนทุนนิยม (ระบบศักดินา ระบบทาส) • ระบบการเมืองที่ไม่กระจายโอกาสและทรัพยากร • การขัดขวางระบบตลาดที่กระจายโอกาส/ทรัพยากร
ทุพิกขภัยอันเกิดจากมนุษย์ทุพิกขภัยอันเกิดจากมนุษย์ • Amartya Sen, Nobel Prize 1998. • ความล้มเหลวในระบบการกระจายผลผลิตผ่านตลาด • การเมืองแบบเผด็จการ (จีน กัมพูชา vs อินเดีย) • สงครามระหว่างชาติ สงครามกลางเมือง ระบอบขุนศึก (อาฟริกา) • นโยบายรัฐที่ผิดพลาด (ไอร์แลนด์ 1845-52)
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์ • Gary S. Baker, Nobel Prize 1992. • การมีบุตรเป็นการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์ • อุปสงค์การมีบุตร (ผลได้) • อุปทานการมีทุน (ต้นทุน) • การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเปลี่ยนน้ำหนักและลักษณะของต้นทุนผลได้ของการมีบุตร
มัลธัสใน ศ.20-21 • ถือว่า เป็นผู้ริเริ่มวิชาประชากรศาสตร์ (demography) • ลัทธินีโอมัลธัส ความเชื่อเรื่อง “กลียุค” และ “วันสิ้นโลก” เมื่อประชากรล้นเกินและทรัพยากรหมดสิ้น • ถ่านหินหมดโลก (กลาง ศ.19) • น้ำมันหมดโลก (ปลาย ศ.20) • “ภาวะโลกร้อน” (ต้น ศ.21) • NGOs กลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม Green Peace
ลัทธินีโอมัลธัส (Neo-Malthusianism) • ประชากรโลกเพิ่มขึ้นเกินกว่าปริมาณทรัพยากร • ระบบทุนนิยมที่เน้นกำไรและลัทธิบริโภคนิยมทำให้ประชากรบริโภคทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง ทำลายสิ่งแวดล้อม • ระบบตลาดไม่มีประสิทธิภาพ เสถียรภาพ ความเป็นธรรม • วิกฤตเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
ลัทธิโลกร้อน • Al Gore “An Inconvenience Truth” (2006) • ประชากรโลกเพิ่มทวีคูณตั้งแต่ปฏิวัติอุตสาหกรรม • การเจริญเติบโตและการบริโภคปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่บรรยากาศโลก • อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกพุ่งสูงกว่าแนวโน้มปกติ • หายนะทางสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม • ต้องลดการเพิ่มประชากร การบริโภค การเจริญเติบโต
เศรษฐศาสตร์ “สีเขียว” (Green Economics) • อุปทานทรัพยากรคงที่ ปริมาณไม่เพิ่มขึ้น ไม่ตอบสนองต่อราคา ไม่มีสินค้าทดแทน • อุปสงค์มีความยืดหยุ่นเป็นศูนย์ ความต้องการไม่เปลี่ยนแม้ราคาสูงขึ้น • ระบบตลาดไม่สามารถจัดสรรทรัพยากรที่หายากไปสนองความต้องการที่เพิ่มขึ้นของประชากรได้
การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศสนองประโยชน์บรรษัทข้ามชาติและประเทศที่ร่ำรวยการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศสนองประโยชน์บรรษัทข้ามชาติและประเทศที่ร่ำรวย • เผาผลาญทรัพยากรเพื่อสนองการบริโภคที่ไม่จำเป็น • ให้ลด/หยุดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ลดการเพิ่มประชากร การบริโภค และการค้า • บริโภคผลิตผลท้องถิ่น เทคโนโลยีพื้นบ้าน พลังงานทางเลือก • รีไซเคิลทุกอย่างโดยไม่คำนึงถึงต้นทุนค่าใช้จ่าย • ระบบเศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านที่ไม่มีการค้า
การจัดสรรทรัพยากรโดยกลไกตลาดการจัดสรรทรัพยากรโดยกลไกตลาด • กลไกราคาและกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินสร้างแรงจูงใจให้จัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ • อุปทาน: ในระยะยาว อุปทานทรัพยากรมีไม่จำกัด • การขาดแคลนทำให้ราคาสูงขึ้น • แรงจูงใจให้แสวงหาและผลิตทรัพยากรทดแทน • เทคโนโลยีใหม่ลดต้นทุน เอาชนะการลดน้อยถอยลง
อุปสงค์: ราคาสูงขึ้นเป็นแรงจูงใจให้ประหยัดการใช้ • แสวงหาทรัพยากรทดแทนที่มีราคาถูกกว่า • ประชากรที่เพิ่มขึ้นมีผลสองด้าน • เพิ่มการบริโภคและการใช้ทรัพยากร • เพิ่มแรงงานและการผลิต • เพิ่มบ่อเกิดความรู้และเทคโนโลยีใหม่
วิกฤตน้ำมันเชื้อเพลิง ท.1970-1980 • S1 ตะวันออกกลาง • S2 อเมริกา • S3 ทะเลเหนือ • S4 พลังงานทดแทนอื่น ๆ P S3 S4 S2 S1 p1 p2 p3 Q