410 likes | 711 Views
การมอบนโยบาย การจัดกระบวนการรับฟังความคิดเห็นเพื่อจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำ. นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์. นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. GWP Comb: Global Water Partnership.
E N D
การมอบนโยบายการจัดกระบวนการรับฟังความคิดเห็นเพื่อจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำการมอบนโยบายการจัดกระบวนการรับฟังความคิดเห็นเพื่อจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำ นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
GWP Comb: Global Water Partnership ความสัมพันธ์ระหว่างภาคการใช้น้ำและบทบาทของการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแบบผสมผสานสามารถแสดงในรูปของหวี “GWP comb” การผสมผสานภาคการใช้ต่าง ๆ • สิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวย • บทบาทขององค์กร • เครื่องมือการจัดการ น้ำเพื่ออุตสาหกรรมและอื่น ๆ น้ำ เพื่ออนุรักษ์ธรรมชาติ น้ำเพื่อ อุปโภค บริโภค น้ำเพื่อการเกษตร นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ความสัมพันธ์ระหว่างภาคการใช้น้ำและบทบาทของการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในประเทศไทย ตามลำดับความสำคัญ และปริมาณการใช้ในแต่ละภาคส่วน • สิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวย • บทบาทขององค์กร • เครื่องมือการจัดการ การผสมผสานภาคการใช้ต่าง ๆ น้ำเพื่อการเกษตร ( 75 % ) น้ำ เพื่ออนุรักษ์ธรรมชาติ ( 17 % ) น้ำเพื่อ ประชาชน อุปโภค บริโภค ( 4% ) น้ำเพื่ออุตสาห กรรมและอื่น ๆ (4 % ) GWP Comb: Global Water Partnership นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
อุทกภัยตามแนวทฤษฎีน้ำล้นแก้วอุทกภัยตามแนวทฤษฎีน้ำล้นแก้ว ลุ่มน้ำเปรียบเหมือนกับแก้วใบหนึ่งที่สามารถรับ น้ำฝนหรือน้ำท่าได้เต็มแก้วในระยะเวลาหนึ่ง มีการพัฒนามีการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน มีการเปลี่ยนแปลง สภาพการใช้ที่ดินทำกินเปรียบเสมือนกับ การนำเอาก้อนน้ำแข็งใส่ในแก้วทีละก้อน ลุ่มน้ำรับน้ำได้น้อยลง เหมือนกับการ เติมก้อนน้ำแข็งเข้าไปในแก้วมากขึ้น ถึงเวลาหนึ่งน้ำต้องล้นแก้ว ชุมชนที่อยู่ด้านเหนือน้ำก็จะมีการต่อแก้ว หรือต่อคันกั้นน้ำให้สูงขึ้น ชุมชนท้ายน้ำก็มีความจำเป็น ที่จะต้องต่อแก้วให้สูงยิ่งขึ้นเป็นกำแพงเมืองจีน หรือว่าเราจะเลือกเอาจานรองแก้วมารับน้ำที่ล้นแก้ว ทุกชุมชนต้องมีส่วนร่วมในการค้นหาคำตอบ โดยมีแกนกลางซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีองค์ความรู้ และฐานข้อมูลในการสนับสนุน “ทฤษฎีน้ำล้นแก้วสะท้อนให้เราตระหนักว่า เราต้องรู้ตัวเองในขณะที่กำลังเติมก้อนน้ำแข็งทีละก้อน” ที่มา ดร. เสรี ศุภราทิตย์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยภัยธรรมชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เมื่อน้ำไม่มีที่อยู่ ??? เมื่อมีน้ำปริมาณเท่าเดิม ??? Q1 = A1V1 Q2 = A2V2 นิคมอุตสาหกรรม หมู่บ้าน ชุมชน Condition: Q2 = Q1 V2 >V1 Mr.LersakRewtarkulpaiboon Ministry of Agriculture and Cooperatives
WATER One orld, One Water W ter is goods Waer is energy Who us , Who pay 3 : Reuse, Reduce, Recycle นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
One World, One Water การร่วมมือกันในโลกนี้ เมื่อปัญหาทั้งโลกเชื่อมต่อกัน นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
Water is Goods นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
Water is Energy Source: Water, Energy and Climate Change: A Contribution from the Business Community. World Business Council for Sustainable Development. 2009 นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
Electric car นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
Water-powered car นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
Bioplastics นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
Who use, Who pay นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
3R: Reuse, Reduce, Recycle นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กรอบแนวคิดการใช้ทรัพยากรน้ำประเทศไทยกรอบแนวคิดการใช้ทรัพยากรน้ำประเทศไทย นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
Road map ของ กระทรวงเกษตรฯ โดยการบริหารงานของ คสช. ในการพัฒนาประเทศ …the future From now… to นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การใช้ที่ดินในประเทศไทย ปี 2555 ที่ป่า 33.44% ที่ดินนอกการเกษตร (107.24 ล้านไร่) 20.02% เนื้อที่ทั้งประเทศ 320.70 ล้านไร่ (64.22 ล้านไร่) ที่ดินเพื่อการเกษตร 46.54% (149.24ล้านไร่) ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2556 นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรในประเทศไทย ปี 2555 สวนผักและไม้ดอก อื่นๆ 0.95% 7.91% 1.40 ล้านไร่ ไม้ผลไม้ยืนต้น 11.80 ล้านไร่ 23.40% 34.91 ล้านไร่ พื้นที่การเกษตร 149.24 ล้านไร่ พืชไร่ ที่นา 46.88% 20.88% 69.96 ล้านไร่ 31.16 ล้านไร่ ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2556 นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การจัดทำแผนการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning) แนวความคิดการจัดทำโซนนิ่งภาคเกษตร เพื่อรักษาดุลใน 4 ด้าน การบริหารจัดการที่ดินให้เกิดประโยชน์ สอดคล้องกับศักยภาพ และให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม • สร้างความมั่นคงรายได้ให้เกษตรกร • ใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มตามศักยภาพ • ตอบสนองตลาดโลก • รักษาวินัยทางการเงินการคลัง การพัฒนาอย่างเป็นระบบตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ การเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิต สร้างเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตรในระยะยาว เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันภาคเกษตรทั้งระบบ เชื่อมโยงไปสู่การพัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตร โดยคำนึงถึงความหลายหลายของการผลิตสินค้าทางการเกษตร (Agricultural Diversification) ซึ่งเป็นจุดแข็งของประเทศไทย
การจัดทำแผนการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning) แนวความคิดการจัดทำโซนนิ่งภาคเกษตร การสร้างแรงจูงใจให้เกษตรกรเข้าร่วมปรับเปลี่ยนการใช้พื้นที่ การจัดทำแผนที่กลางของประเทศ (Master Map)และแผนที่ทับซ้อน(Layers) การจัดทำโซนนิ่งภาคเกษตร บริหารจัดการสินค้าเกษตรให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ทั้งในและต่างประเทศ โดยคำนึงถึงความเหมาะสมของพื้นที่ เชิงกายภาพและเศรษฐกิจ เพิ่มประสิทธิภาพ สร้างแรงจูงใจปรับเปลี่ยน ปลูกในพื้นที่เหมาะสม ปลูกในพื้นที่ไม่เหมาะสม ภาพรวม ระดับจังหวัด ระบบฐานข้อมูลกลางของประเทศที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน • อุปสงค์และอุปทานทั้งในและต่างประเทศ • ราคา/ผลตอบแทน • จำนวนเกษตรกร • พื้นที่เพาะปลูก • ระยะเวลาผลผลิต • พื้นที่ปลูกพืช • พื้นที่เหมาะสมเพาะปลูก • พื้นที่ชลประทาน/รับน้ำนอง • คมนาคมและโลจิสติกส์ • ที่ตั้งโรงงานแปรรูป • ตลาด • สนับสนุนปัจจัยการผลิต องค์ความรู้ เทคโนโลยี • สินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ • ประกันความเสี่ยงภัยธรรมชาติ • จัดรูปที่ดิน ถนน ชลประทาน/แหล่งน้ำ • R&D พันธุ์+สร้างนวัตกรรมเฉพาะพื้นที่ • หาตลาด: Contract Farming ตลาดชุมชน ศูนย์การค้า • ข้อมูลภูมิสารสนเทศพื้นฐาน 13 ชั้นข้อมูล • กลุ่มข้อมูล 4 ด้าน : เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความมั่นคง ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลและวางแผนการผลิตร่วมกันระหว่างภาครัฐ เอกชน และเกษตรกรในพื้นที่
ลดพื้นที่ไม่เหมาะสมปลูกข้าว27.41 ล้านไร่ ลดพื้นที่ปลูกข้าวในเขตป่า2.10 ล้านไร่ การปรับเปลี่ยนพื้นที่ไม่เหมาะสมปลูกข้าวเป็นอ้อยโรงงานและสินค้าอื่น ปรับเปลี่ยนปลูกอ้อย 6.69 ล้านไร่ สินค้าเกษตรอื่น เช่นหญ้าเนเปียร์พืชหลังนา20.72 ล้านไร่ ระยะแรก0.80 ล้านไร่ ระยะต่อไป5.89 ล้านไร่ มาตรการระยะแรก มาตรการ มาตรการระยะต่อไป มาตรการ • เพิ่มพื้นที่เพาะปลูกอ้อย • เพิ่มประสิทธิภาพการปลูกอ้อย • ขยายกำลังการผลิต/ตั้งโรงงานน้ำตาลใหม่ • บริหารจัดการพื้นที่ป่า • เพิ่มพื้นที่เพาะปลูกอ้อย • เพิ่มสินค้าเกษตรใหม่ ที่เป็นที่ต้องการของตลาด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง: กษ. ทส. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง: กษ. พณ. อก.พง.ภาคเอกชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง: กษ. อก.พณ. ภาคเอกชน
ประกาศเขตพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ 20 ชนิด ความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินในการผลิตนอกเขตป่าไม้ตามกฎหมาย OVERLAY กับขอบเขตการปกครอง (ก.มหาดไทย) S3 เหมาะสมเล็กน้อย N ไม่เหมาะสม S1 เหมาะสมสูง S2 เหมาะสมปานกลาง พืช 13 ชนิด ข้าว มันสำปะหลัง ยางพารา ปาล์มน้ำมัน อ้อยโรงงาน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ สับปะรดโรงงาน ลำไย เงาะ ทุเรียน มังคุด มะพร้าว และกาแฟ ปศุสัตว์ 5 ชนิด โคเนื้อ โคนมสุกร ไก่เนื้อ และไก่ไข สัตว์น้ำ 2 ชนิด กุ้งทะเล และสัตว์น้ำจืด เลือกเฉพาะตำบล ที่มีสภาพการใช้ที่ดิน ในปัจจุบัน (Present Land Use) > 40 ไร่ มีแผนการตรวจสอบพื้นที่เพื่อปรับปรุงประกาศฯเพิ่มเติม Download ได้ที่ www.moac.go.th นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
จำนวนพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสำหรับการปลูกข้าวจำนวนพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสำหรับการปลูกข้าว พื้นที่ปลูกข้าวรวม 73.43 ล้านไร่* * ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน (2556) อยู่ในเขตป่าไม้ 2.10 ล้านไร่ นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พื้นที่เป้าหมายการขยายพื้นที่ปลูกอ้อยโรงงาน (บริเวณที่ปลูกข้าวในเขต S3,N) ที่ตั้งโรงงานจำนวน 20 แห่ง ซึ่งมีกำลังการผลิตที่ต้องการพื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานเพิ่ม รวมเนื้อที่ 802,561 ไร่ พื้นที่เป้าหมายการขยายพื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานในรัศมี 50 กิโลเมตรจากโรงงานน้ำตาล มีเนื้อที่รวม 2,328,370 ไร่ รัศมี 50 กิโลเมตรจากโรงงานน้ำตาล นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การปลูกอ้อยมีรายได้สุทธิมากกว่าปลูกข้าวนาดอนไร่ละ 5,437 บาท ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2556 สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย บาท/ไร่/ปี หากปรับเปลี่ยนพื้นที่นาดอน 10 ล้านไร่ มาปลูกอ้อย ชาวนาจะมีรายได้สุทธิเพิ่มขึ้น 54,000 ล้านบาท/ปี หรือมีรายได้สุทธิเพิ่มขึ้น 20 เท่า *ข้าวนาปีนอกเขตชลประทาน
(Economic Return on Resources) 31,500 (หน่วย ล้านบาท) ... จะทำให้มีผลตอบแทนที่คุ้มค่าทางเศรษฐกิจ >306,443 ไบโอพลาสติก ล้านบาท 35,100 ไฟฟ้า 45,353 เอทานอล รายได้ที่เกษตรกรจะได้รับในพื้นที่ 10 ล้านไร่ (Regional Benefit) 150,960 รายได้ส่วนเพิ่มจากอุตสาหกรรมต่อเนื่อง (หน่วย ล้านบาท) น้ำตาล (National Benefit) การปรับเปลี่ยนพื้นที่นาดอน 10 ล้านไร่ มาปลูกอ้อย จะมีผลตอบแทนจากการใช้ที่ดินเพิ่มขึ้นมากกว่า 300,000 ล้านบาท รวมกับโอกาสในอุตสาหกรรมไบโอเคมีคอล และ ไบโอพลาสติกที่จะเกิดขึ้นในอนาคต 43,530 43,530 ล้านบาท ปลูกอ้อย ปลูกข้าวนาดอน
ผลการดำเนินงาน การขยายพื้นที่ปลูกอ้อยโรงงาน: กรณีจังหวัดมหาสารคาม กระทรวงเกษตรฯ จังหวัด โรงงานน้ำตาล มาตรการจูงใจ/สนับสนุนของโรงงานและจังหวัด ปี 2557 บริษัทน้ำตาลวังขนาย จำกัด เงินเกี้ยว 5,500 – 6,000 บาท/ไร่ ยืมล่วงหน้า เป็นค่าปุ๋ย, พันธุ์, เตรียมดิน, ค่ายา โรงงานน้ำตาลขอนแก่น จำกัด เงินเกี้ยว 5,000 บาท/ไร่ ยืมล่วงหน้า เป็นค่าปุ๋ย, พันธุ์, เตรียมดิน, ค่ายา(ไม่เกิน 100,000 บาท/คน หากเกินต้องมีหลักทรัพย์ค้ำประกันเพิ่มเติม) และ เงินให้เปล่า 500 บาท/ไร่ (กรณีเป็นพื้นที่ปลูกใหม่) จังหวัดสนับสนุน งบประมาณ (800 บาท/ไร่) อำเภอโกสุมพิสัย 1,200 ราย 6,500 ไร่ 1. ค่าปุ๋ยอินทรีย์ 100 กก./ไร่ กก.ละ 7 บาท = 700 บาท/ไร่ 2. ค่าสารเพิ่มประสิทธิภาพ 100 บาท/ไร่ = 100 บาท/ไร่ นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เขตประกาศความเหมาะสมลำไยเขตประกาศความเหมาะสมลำไย ตามประกาศกระทรวง (S1 และ S2) ทั้งประเทศ 26 จังหวัด 142 อำเภอ 511 ตำบล พื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือ 89 อำเภอ 410 ตำบล พื้นที่ 669,210 ไร่ เป้าหมายทำนอกฤดูพื้นที่ 84 อำเภอ 375 ตำบล พื้นที่ 417,264 ไร่ การบริหารจัดการลำไย Source from LDD
ผลการดำเนินงาน เขตเหมาะสมการปลูกลำไย ในเขตและนอกเขตชลประทาน อนุกรรมการบริหาร การผลิตกลุ่มสินค้าเกษตร (ลำไย) กรมพัฒนาที่ดิน กรมชลประทาน กรมส่งเสริมการเกษตร สศก. นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
จบการนำเสนอ นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์