1 / 27

ประชากรและแรงงานไทย ส่วนที่ 1

ประชากรและแรงงานไทย ส่วนที่ 1. เอกสารอ้างอิง : “ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร และสวัสดิการสังคม ” โดย รศ. ดร. มัทนา พิรนามัย “ ห้าทศวรรษแห่งการเปลี่ยนแปลงใน ตลาดแรงงานไทย ” โดย อ. ดร. กิริยา กุลกลการ www.praipol.com. เค้าโครงการบรรยาย 2 ส่วน :.

pleasance
Download Presentation

ประชากรและแรงงานไทย ส่วนที่ 1

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประชากรและแรงงานไทยส่วนที่ 1

  2. เอกสารอ้างอิง: • “การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร • และสวัสดิการสังคม” • โดย รศ. ดร. มัทนา พิรนามัย • “ห้าทศวรรษแห่งการเปลี่ยนแปลงใน • ตลาดแรงงานไทย” • โดย อ. ดร. กิริยา กุลกลการ • www.praipol.com

  3. เค้าโครงการบรรยาย 2 ส่วน: • ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • แรงงานไทยในห้าทศวรรษ

  4. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • Pn= P0 + B–D + (NM) โดยที่ Pn คือจำนวนประชากร ณ เวลา n P0 คือจำนวนประชากร ณ จุดเริ่ม B คือ จำนวนคนเกิด D คือจำนวนคนตาย และ NM คือ จำนวนผู้ย้ายถิ่นเข้าสุทธิ

  5. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • G(P)= G(B)–G(D) + G(NM) โดยที่ G(P) คือ อัตราการเพิ่มประชากร G(B) คือ อัตราการเกิด G(D) คือ อัตราการตาย และ G(NM)คือ อัตราการย้ายถิ่นเข้าสุทธิ

  6. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย

  7. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย ขั้นที่ 1 : อัตราเกิดและอัตราตายสูงใกล้กัน ทำให้อัตราเพิ่มค่อนข้างต่ำ

  8. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย ขั้นที่ 2 : สาธารณสุขดีขึ้น ทำให้อัตราตายลดก่อน ทำให้อัตราเพิ่มสูงขึ้นมาก แต่ต่อมาอัตราเกิดเริ่มลด ทำให้อัตราเพิ่มชะลอ

  9. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย ขั้นที่ 3 : อัตราตายและอัตราเกิดลดต่ำใกล้กันอีก ทำให้อัตราเพิ่มกลับมาต่ำอีก

  10. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย ขั้นที่ 1 (อัตราเกิดและอัตราตายสูง ทำให้อัตราเพิ่มค่อนข้างต่ำ) ในไทย ขั้นที่ 1 นี้คงเกิดขึ้นก่อนหน้าปี 2500 แล้ว

  11. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย ขั้นที่ 2 (อัตราตายลดเร็ว ต่อมาอัตราเกิดเริ่มลด ทำให้อัตราเพิ่มสูงขึ้นมาก) ในไทย ขั้นที่ 2 เป็นจริงในช่วง 2507 – 2519 ประชากรเพิ่มในอัตรา 3% ซึ่ง สูงมาก ผู้หญิงมีลูกน้อยลงโดยตลอด และคนอายุยืนขึ้นโดยตลอด

  12. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย ขั้นที่ 3 (อัตราตายและอัตราเกิดลด ทำให้อัตราเพิ่มลดต่ำมาก) ในไทย ขั้นที่ 3 เป็นจริงในช่วงตั้งแต่ 2530 เป็นต้นมา ประชากรเพิ่มในอัตรา เพียง 1% ซึ่งต่ำมาก ไทยทำได้ภายใน 5 ทศวรรษ (ยุโรปมากกว่า 100 ปี)

  13. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย อัตราเกิดลด ทำให้สัดส่วนเด็กในประชากรลดลง (20% ในปี 2563)

  14. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย อัตราตายลด อายุยืนขึ้น ทำให้สัดส่วนคนแก่สูงขึ้น (15% ในปี 2563 และ 23% ในปี2573) กลายเป็นสังคมผู้สูงอายุ (aging society)

  15. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย “อัตราการเป็นภาระ” ลดลงต่ำสุดในปี 2553 (คนทำงาน 2 คนเกื้อหนุนคนไม่ทำงาน 1 คน) แต่อัตราการเป็นภาระจะสูงขึ้นในอนาคต

  16. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • สาเหตุที่ทำให้อัตราการเกิดลดลง • การผลิตเปลี่ยนจากเกษตรมาเป็นอุตสาหกรรมและบริการมากขึ้น และจากสังคมชนบทเป็นสังคมเมือง ความต้องการมีสมาชิกครอบครัวมากๆ จึงน้อยลง

  17. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • สาเหตุที่ทำให้อัตราการเกิดลดลง • ผู้หญิงมีการศึกษาและโอกาสในการทำงานมากขึ้น จึงไม่ต้องการมีลูกมาก • รัฐบาลส่งเสริมการวางแผนครอบครัว • คนรายได้ดีขึ้น จึงต้องการบุตรโดยเน้นด้านคุณภาพมากกว่าปริมาณ

  18. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • สาเหตุที่ทำให้อัตราการเกิดลดลง • สถิติชี้ให้เห็นว่าขนาดของครัวเรือนเล็กลงจาก 5.6 คน ในปี 2503 เป็น 3.8 คน ในปี 2543 • ร้อยละของผู้เป็นโสดมากขึ้น โดยเฉพาะผู้หญิง และแต่งงานช้าลง (ทั้งหญิงและชาย)

  19. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • ที่ผ่านมา โครงสร้างทางอายุของประชากรไทยเอื้อต่อการพัฒนาเศรษฐกิจเพราะสัดส่วนประชากรในวัยทำงานยังสูงอยู่ • แต่ในอนาคต จะไม่เอื้อเพราะเริ่มเข้าสู่สังคมสูงอายุ ทำให้การออม/ลงทุนลดลง

  20. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • สังคมสูงอายุ ไม่เป็นผลลบ หากมีแผนรองรับ: • ด้านแรงงาน เพิ่มลงทุนในทรัพยากรมนุษย์และคุณภาพแรงงาน • งบประมาณรัฐปรับตามการเปลี่ยนโครงสร้างอายุ เช่น การศึกษา สุขภาพ การดูแลคนแก่

  21. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • สังคมสูงอายุ ไม่เป็นผลลบ หากมีแผนรองรับ: • ปรับโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้อต่อคนแก่ เช่น ทางเท้า การคุ้มครองความปลอดภัย • สร้างหลักประกันทางเศรษฐกิจและสังคม (สวัสดิการสังคม)

  22. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • สวัสดิการสังคมของไทย แบ่งได้ตามสถานภาพการทำงาน (กำลังแรงงาน 35.6 ล้านคนในปี 2549) • ข้าราชการและลูกจ้างของรัฐ (1.5 ล้านคน) • ลูกจ้างในภาคเอกชน (12 ล้านคน) • ส่วนที่เหลือ (22 ล้านคน)

  23. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • สวัสดิการสำหรับข้าราชการและลูกจ้างของรัฐ • ค่ารักษาพยาบาลของตน บิดา มารดา คู่สมรส และบุตรอายุต่ำกว่า 20 ปี • ประกันชราภาพด้วยเงินบำเหน็จบำนาญ

  24. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • สวัสดิการสำหรับลูกจ้างเอกชน • กฎหมายประกันสังคม 2533 ครอบคลุมลูกจ้างในสถานประกอบการลูกจ้าง 1 คนขึ้นไป • คุ้มครอง 4 กรณี คือ เจ็บป่วย ทุพพลภาพ ตาย และคลอดบุตร • ต่อมาเพิ่มสงเคราะห์บุตร ชราภาพ และว่างงาน

  25. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • สวัสดิการสำหรับลูกจ้างเอกชน • ร่วมจ่ายเงินสมทบ 3 ฝ่ายคือลูกจ้าง นายจ้าง และภาครัฐ • กองทุนเงินทดแทน ครอบคลุมการเจ็บป่วยที่เกิดจากการทำงาน • ในปี 2552 จำนวนผู้ประกันตนทุกประเภทรวม 9.425 ล้านคน (25% ของกำลังแรงงาน)

  26. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • ส่วนที่เหลือ (70% ของกำลังแรงงาน) • เกษตรกร ผู้ประกอบอาชีพอิสระ แรงงานนอกระบบ • ไม่ได้รับการคุ้มครอง หรือมีหลักประกันน้อยกว่า • มีหลักประกันรักษาพยาบาลตามโครงการรักษาฟรี/ 30 บาท + เบี้ยยังชีพสูงอายุ • กระทรวงการคลังมีแผนจัดตั้งกองทุนบำเหน็จบำนาญแห่งชาติสำหรับ “ส่วนที่เหลือ”

  27. ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • ยังไม่มีความตระหนักหรือแผนรองรับการเข้าสู่สังคมสูงอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านสวัสดิการสังคม

More Related