1 / 39

ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการพลศึกษาและกีฬา

1. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการพลศึกษาและกีฬา. ในระบบการศึกษา : ข้อมูลจากการประชุมระหว่าง. ประเทศสำหรับรัฐมนตรีและเจ้าหน้าที่ระดับสูง. ทางพลศึกษาและกีฬา ครั้งที่ 4 . วันที่ 6-8 ธันวาคม 2547 ณ กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ. โดย ดร. จรวยพร ธรณินทร์ . รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. 2.

platt
Download Presentation

ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการพลศึกษาและกีฬา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 1 ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการพลศึกษาและกีฬา ในระบบการศึกษา : ข้อมูลจากการประชุมระหว่าง ประเทศสำหรับรัฐมนตรีและเจ้าหน้าที่ระดับสูง ทางพลศึกษาและกีฬา ครั้งที่ 4 วันที่ 6-8 ธันวาคม 2547 ณ กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ โดย ดร. จรวยพร ธรณินทร์ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

  2. 2 ขอบข่ายเนื้อหา 1. ลำดับเหตุการณ์สำคัญของโลกด้านการพลศึกษาและกีฬา 2. ข้อเสนอแนะจากที่ประชุม MINEPS ครั้งที่ 1-3 3. ข้อค้นพบ/ ข้อมูลพื้นฐานจากการประชุมที่จัดโดย ความร่วมมือระหว่างองค์กรระดับโลก 4. ข้อมูลประเทศไทยในการจัดการพลศึกษาและกีฬาในระบบการศึกษา 5. ข้อเสนอแนะจากการประชุม MINEPS ครั้งที่ 4 6. การค้นหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ

  3. 3 ลำดับเหตุการณ์สำคัญของโลกด้านพลศึกษาและกีฬา ปี 1952 (พ.ศ.2495) การประชุมสมัยสามัญ - ผนวกเรื่องพลศึกษาและกีฬา ของยูเนสโก ครั้งที่ 7 เป็นภารกิจหนึ่งของยูเนสโก ปี 1976 (เมษายน พ.ศ.2519) จัดประชุมระหว่างประเทศระดับรัฐมนตรี - ประกาศปฏิญญาสากล และเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านพลศึกษาและกีฬา ว่าด้วยการพลศึกษาและ (International Conference of Ministers & กีฬาเพื่อปวงชน 10 Senior Officials Responsible for Physical ประการ Education and Sport, MINEPS I ปารีส ฝรั่งเศส

  4. 4 ปี 1977 (พ.ศ.2520) จัดตั้งคณะกรรมการระหว่างรัฐบาล - ภารกิจ : ประสานความร่วมมือ ด้านการพลศึกษาและกีฬา ในระดับสากลกับประเทศสมาชิก (Intergovernmental Committee for Physical Education and Sport CIGEPS) ปี 1988 (พฤศจิกายน พ.ศ.2531) จัดประชุม MINEPS II - ประเมินและติดตามการปฏิบัติตามปฏิญญา ที่กรุงมอสโก รัสเซีย สากล 10 ประการ - ร่วมกับโครงการเพื่อการพัฒนา แห่งสหประชาชาติ (UNDP) - ลงนามแถลงการณ์ร่วมกับคณะกรรมการ โอลิมปิคสากล (IOC) ช่วยประเทศกำลังพัฒนา

  5. 5 ปี 1992 (พ.ศ.2535) จัดประชุมระหว่างประเทศ - ข้อเสนอแนะทั่วไปในการนำปฏิญญา สู่การปฏิบัติ ด้านพลศึกษาและกีฬาที่ตูนีเซีย ปี 1995 (พ.ศ.2538) จัดประชุมระหว่างประเทศ - จัดร่วมระหว่าง IOC, WHO, และ UNESCO ด้านพลศึกษาและกีฬาที่แคนาดา

  6. 6 ปี 1999 (พ.ศ.2542) จัดประชุม MINEPS III - ประกาศปฏิญญาปุนตา เดลเลเต - ส่งเสริมการใช้กีฬาพื้นบ้านสร้างความ ที่เมือง Punta del Este ประเทศอุรุกวัย (Uruguay) เข้มแข็งของชุมชน - กำหนดจริยธรรมในการเล่น/ แข่งขันกีฬา - รับรอง Berlin Agenda for Action ให้บรรจุพลศึกษาในหลักสูตรโรงเรียน ให้เด็กหญิง/ สตรีมีส่วนร่วมในกีฬา จัดกีฬาให้ผู้สูงอายุและคนพิการ ต่อต้านการใช้สารกระตุ้น อนุรักษ์กีฬาพื้นเมือง

  7. 7 ปี 2003 (มกราคม พ.ศ.2546) จัดประชุมโต๊ะกลมรัฐมนตรี 1. ส่งเสริมพลศึกษาและกีฬาให้ พลศึกษาและกีฬา (Round บรรจุในหลักสูตรและให้เป็น Table of Ministers of Physical การศึกษาตลอดชีวิต Education and Sport) 2. คุ้มครองเยาวชนที่เป็นนักกีฬา ที่ยูเนสโก ปารีส ฝรั่งเศส - ไม่ฝึกหนักจนสุขภาพโทรม เครียด ไม่มีเวลาเล่นกับเพื่อน - ไม่มีการซื้อตัวนักกีฬาที่เป็นนักเรียน นักศึกษา (ฝ่าฝืนจรรยาบรรณ ทางการกีฬา)

  8. 8 - โกงด้วยวิธีเล่นที่ไม่เป็นมาตรฐาน เพื่อหวังชนะ - คุ้มครองสิทธิเด็กทางสุขภาพร่างกาย จิตใจ - ให้จัดการศึกษาที่เหมาะกับนักกีฬา 3. ยกร่างกฎหมายระหว่างประเทศ เพื่อขจัดการใช้สารกระตุ้น ร่วมกับ World Anti-doping Agency (WADA)

  9. 9 ปี 2003 (ตุลาคม พ.ศ.2546) ที่ประชุมสมัยสามัญของยูเนสโก - เสนอร่างกฎหมายเพื่อขจัดการใช้ สารกระตุ้น การประชุมยูเนสโก ในระดับภูมิภาค - เรื่องการพัฒนาครูพลศึกษาและ กีฬา ที่เมือง Bamako, Mali ที่สำนักใหญ่ยูเนสโก ปารีส ฝรั่งเศส - มอบรางวัล World Awards For Humanism in Sport ให้แก่ ผู้อำนวยการยูเนสโก, Prince Albert of Monaco, และนักร้อง Ray Charles

  10. 10 ปี 2004 (19 มกราคม พ.ศ.2547) ที่ยูเนสโก ปารีส - การลงนามร่วมกันระหว่างคณะกรรมการ โอลิมปิกสากลกับยูเนสโก ในการทำงาน ร่วมกัน ปี 2004 (กรกฎาคม พ.ศ.2547) ที่ยูเนสโก ปารีส - รับมอบคฑาคบไฟโอลิมปิก 2004 ซึ่งวิ่งผ่าน ประเทศฝรั่งเศส โดยเจ้าภาพจากประเทศกรีซ

  11. 11 ปี 2004 (2547) ร่วมกับ Council of Europe’s Convention - จัดร่างอนุสัญญาต่อต้าน Against Doping, และ WADA การใช้สารกระตุ้น ปี 2004 (6-8 ธันวาคม 2547) จัดประชุม MINEPS IV - พิจารณาร่างอนุสัญญาต่อต้าน ที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ การใช้สารกระตุ้น - การติดตามการจัดการเรียนการสอน พลศึกษาและกีฬาในระบบการศึกษา - สตรีกับการมีส่วนร่วมในการกีฬา - ให้เตรียมเสนอการจัดปีสากลด้าน พลศึกษาและกีฬาในปี 2005

  12. 12 ปี 2005 (10-15 มกราคม 2548) การประชุมผู้เชี่ยวชาญ ครั้งที่ 3 - พิจารณาร่างอนุสัญญาต่อต้าน (Meeting of Experts ซึ่งครั้งแรก การใช้สารกระตุ้น ได้จัดเมื่อ 19-23 มกราคม 2547 ครั้งที่ 2 วันที่ 10-14 พฤษภาคม 2547) ปี 2005 (3 ตุลาคม 2548) - จะรับรองร่างอนุสัญญาต่อต้าน การใช้สารกระตุ้น การประชุมสมัยสามัญ - จะเสนอให้ปี 2005 (พ.ศ.2548) เป็นปี ครั้งที่ 33 ของยูเนสโก สากลด้านพลศึกษาและกีฬา) โดย ให้สหประชาชาติเป็นผู้ประกาศปี 2005 (พ.ศ.2548 ปีสากลแห่งพลศึกษาและกีฬา)

  13. 13 รายงาน/ เอกสาร/ ร่างอนุสัญญา/ ปฏิญญา เป็นความร่วมมือระดับโลก 1. ปี 2000 (2543) UNESCO และ International Council for Health, Physical Education, Recreation, Sport Dance (ICHPER-SD) จัดทำรายงานเรื่อง “For a Commitment Towards the delivery of quality of physical education to School Children/Youth worldwide” ความพยายามยก ระดับคุณภาพการจัดกิจกรรมพลศึกษาในโรงเรียนทั่วโลก

  14. 14 2. มิถุนายน 2002 (2545) ร่วมกับ International Council of Sport Seince and Physical Education (ICSSPE) จัดทำรายงานเรื่องจริยธรรมและคุณค่าของกีฬาสำหรับ นักเรียน ในการป้องกันการใช้สารกระตุ้น 3. พฤศจิกายน 2002 (2542) ร่วมกับ CIGEPS, Council of Europe) ยกร่าง “Global convention against doping” 4. ปี 2002-2003 ยกร่าง International Charter for the Promotion and preservation of traditional games and Sports.

  15. 15 ข้อเสนอแนะจาก MINEPS 2.1 ข้อเสนอแนะของคณะที่ประชุมรัฐมนตรีและเจ้าหน้าที่อาวุโส ด้านพลศึกษาและกีฬา ครั้งที่ 1 (1976/2519) MINEPS I: การพลศึกษาและกีฬามีความสำคัญต่อการพัฒนา เศรษฐกิจที่ยั่งยืน 1. ใช้กิจกรรมกีฬาเป็นดัชนีวัดความเจริญทางสังคมของประเทศ และถือเป็นการลงทุนทางสังคม (Human Investment) 2. รัฐบาลต้องผลักดันนโยบายให้ประชาชนเล่นกีฬาและ สนับสนุนงบประมาณ

  16. 16 3. รัฐบาลสนับสนุนการจัดกิจกรรมพลศึกษาที่มีคุณภาพ เพื่อเสริมการลงทุนด้านสาธารณสุขและการลดอุบัติภัย 4. ให้ออกมาตรการลด/ ยกเว้นภาษีอุปกรณ์กีฬาที่นำเข้าจาก ต่างประเทศ 5. ประกาศให้ประเทศสมาชิกปฏิบัติตามปฏิญญาสากล ว่าด้วยการพลศึกษาและกีฬา

  17. 17 1976 (2519) MINEPS I กฎบัตร/ ปฏิญญาสากลว่าด้วย การพลศึกษาและกีฬา (International Charter of Physical Education and Sport) 1. พลศึกษา/ กีฬา เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานสำหรับทุกคน 2. พลศึกษา/ กีฬา เป็นส่วนหนึ่งของระบบการศึกษาและจัดให้ ตลอดชีวิต 3. ต้องจัดให้สนองความต้องการของบุคคลและสังคม 4. การสอน/ ฝึก/ บริหาร ต้องใช้บุคลากรที่มีคุณสมบัติเหมาะสม 5. จำเป็นต้องจัดสนามอุปกรณ์ให้เพียงพอ

  18. 18 6. การวิจัย ติดตาม ประเมินผล ช่วยพัฒนาการพลศึกษา/ กีฬา 7. ต้องปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมไปด้วย 8. ต้องจัดทำระบบฐานข้อมูล 9. ขอการสนับสนุนจากสื่อมวลชนร่วมส่งเสริมเชิงสร้างสรรค์ 10. ต้องมีสถาบัน/ องค์กรพลศึกษา/ กีฬา ระดับชาติมีส่วนร่วม พัฒนา

  19. 19 2.2 ข้อเสนอแนะของคณะที่ประชุมรัฐมนตรีและเจ้าหน้าที่อาวุโส ด้านพลศึกษาและกีฬา ครั้งที่ 2 (1988/2531) MINEPS II: พลศึกษาและกีฬาคือส่วนสำคัญที่เป็นสิทธิขั้นพื้นฐาน ด้านการพลศึกษาและเป็นกระบวนการศึกษาต่อเนื่องตลอดชีวิต 1. พลศึกษา/ กีฬาเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่ใช้พัฒนาคน 2. พลศึกษาเป็นส่วนสำคัญของการศึกษาตลอดชีวิตช่วยให้สุขภาพดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี 3. ส่งเสริมการจัดมหกรรมกีฬาพื้นบ้านทั้งในระดับประเทศและ ระหว่างประเทศ 4. การจัดกิจกรรมกีฬาให้สอดแทรกการสอนคุณธรรมจริยธรรม

  20. 20 2.3 ข้อเสนแนะของคณะที่ประชุมรัฐมนตรีและเจ้าหน้าที่อาวุโส ด้านพลศึกษาและกีฬา ครั้งที่ 3 (1999/2542) MINEPS III: ความร่วมมือในกิจกรรมใหม่ทางพลศึกษาและกีฬา รวมการสร้างจริยธรรมความประพฤติเมื่อเล่นกีฬา 1. ให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล การประชุมสัมมนา การฝึกอบรม ระหว่างประเทศ 2. ให้โรงเรียนได้สอนถึงการป้องกันการใช้สารกระตุ้นในการเล่น และแข่งขันกีฬา 3. ขอให้ประเทศสมาชิกสนับสนุนโครงสร้างขั้นพื้นฐานทาง วิชาพลศึกษาและกีฬา และพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัย

  21. 21 (2) ผู้ฝึกสอน/เจ้าหน้าที่/องค์กรกีฬาต้องไม่สนับสนุนใช้สาร กระตุ้นในนักกีฬา 4. จัดให้มีหน่วยสันติภาพทางพลศึกษาและกีฬา (PE Peace Corps) 5. กำหนดพฤติกรรมจริยธรรมทางการกีฬา (1) กีฬาต้องปราศจากการใช้สารกระตุ้น (3) ต้องจัดกีฬาด้วยความบริสุทธิยุติธรรม (4) ส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของนักกีฬา

  22. 22 6. ขอให้สนับสนุนในการเตรียมประกาศให้ปี 2005 เป็นกีสากล ทางการพลศึกษาและกีฬา (5) ส่งเสริมทุกคนเข้าถึงกีฬาได้อย่างเสมอภาค (6) ต้องส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย (7) ต้องจัดกีฬาเพื่อการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน/องค์กร

  23. 23 3.1 ข้อเสนอของ International Council of Sport Science and Physical Education (ICSSPE) เกี่ยวกับการจัดการพลศึกษา ที่มีคุณภาพในปี 1999 1. จัดให้เด็กทุกคนมีโอกาสฝึกทักษะและสร้างเจตคติในการเล่น กีฬาต่อเนื่องไปตลอดชีวิต 3. ต้องให้นักเรียนได้ใช้วิชาพลศึกษาซึ่งเป็นวิชาเดียวในโรงเรียน ที่ให้โอกาสฝึกร่างกายให้มีการเคลื่อนไหวและมีบุคลิกดี 3. ข้อเสนอ/ ข้อมูลพื้นฐานจากองค์กรวิชาชีพระดับโลก 2. ต้องจัดกิจกรรมที่บูรณาการทั้งร่างกาย จิตใจ และคุณธรรม

  24. 24 4. ฝึกนักเรียนให้ค้นพบความถนัดในชนิดกีฬาที่จะนำไปเล่น เมื่ออายุมากขึ้น 8. ค้นพบตนเองชอบกีฬาใดเพื่อใช้เป็นกิจกรรมนันทนาการ เมื่อออกไปสู่โลกของการทำงาน 5. ฝึกให้เด็กรู้จักควบคุมร่างกายตนเองและเคารพสิทธิผู้อื่น 6. ฝึกให้นักเรียนใช้กิจกรรมกีฬาเพื่อสร้างสุขภาพ 7. ให้โอกาสนักเรียนได้แข่งขันต่อสู้อย่างสร้างสรรค์

  25. 25 9. ต้องจัดกิจกรรมพลศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการศึกษา ที่มีคุณภาพทั้งโรงเรียนและมหาวิทยาลัย 10. ต้องให้สถานศึกษาจัดหาสนามและอุปกรณ์กีฬาและให้ใช้ บริการได้ประโยชน์สูงสุด 12. ต้องจัดกิจกรรมพลศึกษาให้สมดุลกับพุทธิศึกษา จริยศึกษา และหัตถศึกษา 13. ต้องจัดกิจกรรมพลศึกษาและกีฬาเพื่อป้องกันพฤติกรรม สร้างความรุนแรงของนักเรียนนักศึกษา 11. มีทุนเพื่อการพัฒนาครูผู้สอน/ ผู้ฝึก เช่นเดียวกับวิชาอื่น ๆ

  26. 26 1. สถานศึกษาจัดกิจกรรมกีฬาไว้ 2 ลักษณะ คือ การจัดไว้เป็นวิชา พลศึกษาในหลักสูตร และในกิจกรรมเสริมหลักสูตร 3.2 ข้อค้นพบในบทบาทวิชาพลศึกษาจากการประชุมสัมมนาระดับโลก 2. กิจกรรมพลศึกษาในระบบการศึกษาที่มีคุณภาพจะถูกใช้ประโยชน์ - ฝึกทักษะชีวิตประจำวัน - ให้รู้จักการมีระเบียบวินัยความรับผิดชอบ - รู้จักปรับตนเองให้เข้ากับกลุ่ม/ สิ่งแวดล้อม - ฝึกการเป็นพลเมืองดี

  27. 27 3. โลกเปลี่ยนไปโดยมีการใช้เทคโนโลยีชั้นสูง เมืองกระจายตัว และ มีความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น ส่งผลให้เด็กรุ่นใหม่ไม่เข้าใจ มีความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น ส่งผลให้เด็กรุ่นใหม่ไม่เข้าใจ วัฒนธรรมดั้งเดิมที่คนต้องแข็งแรงต่อสู้กับความอยู่รอด 4. นักเรียนที่เรียนวิชาพลศึกษาเพิ่มขึ้น ไม่มีผลกระทบต่อผล การเรียน ในทางกลับกันโปรแกรมการสอนพลศึกษาที่ดีช่วย พัฒนานักเรียน มีการเรียนรู้ด้วยตนเอง 5. กิจกรรมพลศึกษาเป็นวิชาที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเคารพ ต่อสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล ความเสมอภาคทางเพศและสร้าง สันติภาพ

  28. 29 3.3 ข้อค้นพบในการจัดการพลศึกษา/ กีฬาในระบบการศึกษาที่มีการ รายงานในหลายประเทศ 1. จำนวนชั่วโมงสอนวิชาพลศึกษาน้อย/ ลดลงไป 30% เพื่อนำไปใช้ สอนวิชาการอื่น 2. วิชาพลศึกษาจัดให้กับนักเรียนอายุ 9-14 ปี ยิ่งเรียนชั้นสูงขึ้น จำนวนชั่วโมงเรียนยิ่งลดลงหรือกลายเป็นเพียงวิชาเลือก 3. ผลงานวิจัยพบว่าเงิน 40 บาท ที่ลงทุนในกิจกรรมพลศึกษา จะประหยัดค่ารักษาพยาบาล 120 บาท 4. ร้อยละ 31 ของประเทศสมาชิกรายงานว่ามีสนามและอุปกรณ์ กีฬาที่พอเพียง

  29. 29 5. ลดจำนวนกิจกรรมพลศึกษาแต่ปัญหาความรุนแรงของ นักเรียน นักศึกษา กลับเพิ่มขึ้น 6. เมื่อมีการวิจัยเปรียบเทียบนักเรียนอายุ 6-12 ปี เรียนกิจกรรม พลศึกษา 5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์กับนักเรียนที่เรียนเพียง 1 คาบ (40 นาที) ต่อสัปดาห์ พบว่าเด็กที่เรียนกีฬามากกว่ามีผล การเรียนและความสำเร็จในทุกด้านดีกว่า

  30. 30 7. โรงเรียนที่จัดกิจกรรมกีฬาได้ดีคือโรงเรียนที่เข้มแข็งและ ส่งผลให้เป็นโรงเรียนที่น่าอยู่น่าทำงาน 8. การละเลยกิจกรรมพลศึกษาทำให้ต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาล สูงขึ้น ข้อมูลของยุโรปพบว่ากิจกรรมพลศึกษาช่วยลดค่า ค่ารักษาพยาบาลได้ 77.8 ล้านเหรียญ ในปี 1995 และช่วย ให้มีผลผลิตดีขึ้น 1-3% หรือเพิ่มมูลค่าจาก 2 เหรียญ เป็น 5 เหรียญ ในเงินที่ลงทุนไป 1 เหรียญ ทั้งที่ค่าใช้จ่ายในการ จัดกิจกรรมพลศึกษา/ กีฬา ใช้เพียง 191 ล้านเหรียญ

  31. 31 4. ข้อมูลประเทศไทยในการจัดพลศึกษาและกีฬาในระบบการศึกษา 4.1 สถานภาพปัจจุบัน 1. ปฏิรูปการศึกษา - เปลี่ยนหลักสูตรพลศึกษา - ปรับวิธีสอน + มีการประเมินคุณภาพสถานศึกษา 2. ปฏิรูประบบราชการ - มีกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา - วิทยาลัยพลศึกษาได้ยกระดับเป็นสถาบันอุดมศึกษา - บทบาทของการกีฬาแห่งประเทศไทย - การทำงานข้ามกระทรวง/ บูรณาการ

  32. 32 2) มติ ครม. 12 พ.ย. 2545 - ส่งเสริมเด็กเล่นกีฬาเพื่อแก้ปัญหา ยาเสพติด 3) มติ ครม. 19 พ.ย. 2545 - ให้ ศธ+สธ รณรงค์เล่นกีฬาและให้บุคคล ภายนอกไปใช้สนามในสถานศึกษา 4) มติ ครม. 2 ม.ค. 2546 - ให้จัดระบบคัดเลือกและส่งเสริมเด็กที่มี แววพัฒนาเป็นนักกีฬา 3 มติ ครม. 1) มติ ครม. 23 ก.ค. 2545 - ใช้สถานที่ราชการ/ รัฐวิสาหกิจเล่นกีฬา

  33. 33 5) มติ ครม. 14 ม.ค. 2546 - ให้ทุกส่วนราชการใช้ประโยชน์สนาม กีฬาที่มีอยู่ 6) มติ ครม. 4 มี.ค. 2546 - ให้ส่วนราชการแก้ปัญหายาเสพติด ในสถานศึกษาโดยให้เล่นกีฬา 7) มติ ครม. 23 มี.ค. 2546 - ส่งเสริมให้เยาวชนเล่นฟุตบอล 8) มติ ครม. 20 เม.ย. 2546 - ให้สร้างสนามกีฬาในทุกตำบล

  34. 34 - มอบกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และกระทรวงต่าง ๆ จัดทำแผนพัฒนากีฬา - การประกาศเจตนารมณ์ที่ประเทศไทยจะขอสมัครเป็น ประเทศเจ้าภาพจัดการแข่งขันโอลิมปิก ปี ค.ศ. 2016 4.2 การจัดทำ RoadMap พัฒนากีฬา

  35. 35 1. ใช้ครูไม่มีวุฒิพลศึกษาสอนวิชาพลศึกษา เพราะอัตรากำลัง ข้าราชการครู ขาดแคลน 2. การวัดประเมินผลที่เน้นทักษะ ทำให้เด็กบางคนไม่ชอบ วิชาพลศึกษา 3. การสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยประเมินด้วยวิชาการ วิชาพลศึกษามีเพียง 1 คาบ/ สัปดาห์ เด็กไม่สนใจ 4. สนาม/ อุปกรณ์ในหลายโรงเรียนใช้สอนได้บางชนิดกีฬา โอกาสไม่เปิดสำหรับการสอนอีกหลายชนิด 4.3 ปัญหา/ อุปสรรค์การพัฒนาพลศึกษา/ กีฬาของประเทศไทย 5. ครูพลศึกษาขาดขวัญกำลังใจความก้าวหน้าทางวิชาชีพ

  36. 36 2. ส่งเสริมการทำงานบูรณาการข้ามกระทรวง - บทบาท ศธ. ใช้สนามกีฬาโรงเรียน - บทบาท สธ. :รวมพลคนเสื้อเหลือง/ เมืองไทยแข็งแรง เพื่อลดค่าใช้จ่ายในหลักประกันสุขภาพ - บทบาท มท. ให้ อปท. บริหารจัดการกีฬาท้องถิ่น 4.3 ยุทธศาสตร์การพัฒนาพลศึกษา/ กีฬา 1. ใช้การเมืองเป็นตัวขับเคลื่อน 3. พัฒนาครูไม่มีวุฒิ ให้มีเทคนิคการสอน

  37. 37 4. ปรับเพิ่มวิชาพลศึกษาให้เป็น 2 คาบ/ สัปดาห์ในการศึกษา ขั้นพื้นฐาน รวม ปวช. 5. จัดทุนการศึกษาสำหรับนักกีฬาช้างเผือก แต่ต้องมี การสอนเสริม + ระบบดูแลนักเรียน - ให้เป็นวิชาเลือกบังคับในสถาบันอาชีวศึกษา - เป็นวิชาเลือกเสรีในทุกมหาวิทยาลัย 6. ส่งเสริมสถานศึกษาจัดกิจกรรมพลศึกษาที่มีคุณภาพ ให้เป็นดัชนีหนึ่งในการประเมินคุณภาพการศึกษา 7. จัดกิจกรรมกีฬาไว้ในการศึกษานอกระบบ/ การศึกษาตลอดชีวิต

  38. 38 5. ข้อเสนอแนะจากการประชุม MINEPS ครั้งที่ 4 6-8 ธันวาคม 2547 ที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ

  39. 39 6. การค้นหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูล ยูเนสโก www.unesco.org โอลิมปิคสากล www.ioc.org WADA www.aahperd.org องค์การอนามัยโลก www.who.org ICHPER-SD www.ichpersd.org ICSSPE www.icsspe.org AAHPER www.aahperd.org

More Related