1 / 24

ประพนธ์ อางตระกูล สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

ประพนธ์ อางตระกูล สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. ยาเสพติดให้โทษ ที่อยู่ในกำกับดูแลของ สธ. และ อย. คุ้มครอง ห่วงใย ใส่ใจคุณภาพ. 1. ยุทธศาสตร์ด้านยาเสพติด. นโยบายของรัฐบาล การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติ ประเด็นยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ปี 2556

pisces
Download Presentation

ประพนธ์ อางตระกูล สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประพนธ์ อางตระกูล สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ยาเสพติดให้โทษ ที่อยู่ในกำกับดูแลของ สธ. และ อย. คุ้มครอง ห่วงใย ใส่ใจคุณภาพ 1

  2. ยุทธศาสตร์ด้านยาเสพติดยุทธศาสตร์ด้านยาเสพติด • นโยบายของรัฐบาล • การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติ • ประเด็นยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ปี 2556 • ยาเสพติด: การควบคุมตัวยาและสารตั้งต้น • ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ อย. ปี 2556 • ยุทธศาสตร์ที่ 3: การควบคุมตัวยาและสารตั้งต้น 2

  3. ตัวยาและสารตั้งต้น • สารตั้งต้น • สารเคมี 23 รายการ ที่กำนดในอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการลักลอบค้ายาเสพติดและวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ค.ศ.1988 • Precursors (Table I) จำนวน 14 รายการ • Essential Chemicals(Table II) จำนวน 9 รายการ • ตัวยา • วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือ 4 และยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 ที่ได้รับใบสำคัญการขึ้นทะเบียนฯ • วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 และยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 ที่ อย. จัดหามาจำหน่ายให้สถานพยาบาล 3

  4. ระดับนานาชาติ ระดับชาติ • พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 • พรบ.วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2518 • พรบ.วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 • พรบ.ยา พ.ศ. 2510 • พรบ.ควบคุมโภคภัณฑ์ พ.ศ. 2549 • พรบ.การส่งไปนอกและการนำเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งสินค้า พ.ศ. 2522 UN Convention Against Illicit Traffic in Narcotic Drugs and Psychotropic Substances 1988 (อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการลักลอบค้ายาเสพติดให้โทษและวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ค.ศ.1988) คณะกรรมการควบคุม ยาเสพติดระหว่างประเทศ (International Narcotics Control Board: INCB) คทง.ควบคุมสารตั้งต้นและเคมีภัณฑ์ที่ใช้ผลิตยาเสพติด • หน่วยงานด้านการควบคุม • อย. • กรมโรงงานอุตสาหกรรม • กรมการค้าภายใน • กรมการค้าต่างประเทศ • สนง.ปลัดกระทรวงมหาดไทย • หน่วยงานปราบปราม • ป.ป.ส. • บช.ปส. • กรมศุลกากร 4

  5. Table I สารตั้งต้น 5

  6. Table II เคมีภัณฑ์จำเป็น 6

  7. สภาพปัญหายาเสพติดที่ผ่านมาสภาพปัญหายาเสพติดที่ผ่านมา • ช่วง 5 ปีที่ผ่านมา พบว่าของกลางกว่า 80 % เป็นเมทแอมเฟตามีน • พ.ศ.2551 – ปัจจุบัน จับกุมยาแก้หวัดสูตรผสมได้ 40 คดี • ของกลางจำนวน 48.32 ล้านเม็ด • เป็นยาที่ผลิตในประเทศไทย 8.06 ล้านเม็ด (ร้อยละ 16.68) 7

  8. ประโยชน์และการใช้ในทางที่ผิดประโยชน์และการใช้ในทางที่ผิด • ซูโดอีเฟดรีนมีประโยชน์ทางการแพทย์หลายประการ • บรรเทาภาวะคัดจมูก น้ำมูกไหลซึ่งเกิดภาวะภูมิแพ้ การอักเสบของช่องหูตอนกลาง และภาวะที่มีการอุดกั้นของท่อ Eustachian • เป็นยาที่มีประสิทธิภาพ มีความปลอดภัย และใช้มานานแล้ว • การป้องกันและแก้ไขปัญหาการลักลอบนำไปใช้ในทางที่ผิด • มีวิธีการที่แตกต่างกันไปตามสภาพปัญหา และสภาพการณ์ของแต่ละประเทศ • ต้องคำนึงถึงทางเลือกในการรักษาและโอกาสในการเข้าถึงยาของประชาชน 8

  9. สถานการณ์ของ ซูโดอีเฟดรีน 9

  10. วัตถุตำรับเดี่ยว การควบคุมซูโดอีเฟดรีน อย. นำเข้าและขายแต่เพียงผู้เดียว วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 (พ.ศ.2539) สธ. มอบหมายให้มีผู้ผลิตเพื่อขาย จำนวน 6 แห่ง ได้แก่ หจก. บี.เจ.(เบญจโอสถ) หจก. โรงงานมิลาโน บ. เอเชี่ยน ฟาร์มาซูติคัล จก. บ. เมดิซีน โปรดักส์ จก. องค์การเภสัชกรรม โรงงานเภสัชกรรมทหาร พัฒนาสูตร 10

  11. สถานะของซูโดอีเฟดรีนสูตรผสมสถานะของซูโดอีเฟดรีนสูตรผสม วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 ยาแผนปัจจุบัน • สธ.ไม่ได้มอบหมายให้ผู้ใดผลิต/นำเข้าฯ • ไม่มีการขายวัตถุดิบออกจาก อย. อย. ขอให้งดผลิต/นำเข้ายาสูตรผสม 16 ม.ค.55 4 เม.ษ.55 1 มิ.ย.55 สธ. มอบหมายให้ผู้ผลิต/นำเข้าฯ ที่มียาเหลือตกค้างอยู่ให้ขายฯ 1 ปี 11

  12. การขายซูโดอีเฟดรีนของสถานพยาบาลฯการขายซูโดอีเฟดรีนของสถานพยาบาลฯ • ต้องขอใบอนุญาตให้มีไว้ในครอบครองหรือใช้ประโยชน์ฯ • สถานพยาบาลของรัฐและเอกชน/คลินิก • ผู้ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องมีใบอนุญาตให้มีไว้ในครอบครองฯ • กระทรวง ทบวง กรม สภากาชาดไทย องค์การเภสัชกรรม หรือ • สถาบันอื่นของทางราชการตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจาฯ • มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยมหิดล • กรุงเทพมหานคร เฉพาะสำนักการแพทย์และสำนักอนามัย • โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์กรมหาชน) 12

  13. การควบคุมผู้ที่ได้รับมอบหมายจาก สธ. • ผู้ขายต้องตรวจสอบโควต้าของผู้ซื้อก่อนการขาย • คลินิก 5,000 เม็ด/เดือน และยาน้ำ 150 x 60 ml./เดือน • รพ.ของรัฐ/รพ.เอกชนที่มีเตียงรับผู้ป่วยฯให้ 10,000 เม็ด/เดือน และยาน้ำ 300 x 60 ml./เดือน • รายงานใน FDA Reporter และ Logistic ก่อนขายทุกครั้ง • ผู้ที่ต้องการใช้เกินกำหนด ให้ทำหนังสือขออนุมัติ อย. • มีสถานพยาบาลหลายแห่งที่ได้รับโควตาเพิ่ม • ผู้ขาย/ผู้ใช้ต้องส่งรายงานประจำเดือน/ปี ต่อ อย. 13

  14. การกระจายซูโดอีเฟดรีนตำรับเดี่ยวการกระจายซูโดอีเฟดรีนตำรับเดี่ยว 14

  15. การกระจายซูโดอีเฟดรีนตำรับผสมการกระจายซูโดอีเฟดรีนตำรับผสม 15

  16. การขายซูโดอีเฟดรีนตั้งแต่ 1 มิ.ย.55 • TPMA ทำหนังสือถึง รมต. และปลัด สธ. ขอให้ • ซื้อยาสูตรผสม(สูตรพาราเซตามอล) ไว้ใช้ใน รพ. ของ สธ. • ซื้อคืนวัตถุดิบที่เหลือทั้งหมดของผู้ประกอบการ • กรรมมาธิการ สธ. วุฒิสภาและสภาผู้แทนฯมีหนังสือฯ • ขอทราบแนวทางและนโยบายการช่วยเหลือและเยียวยา 16

  17. สินค้าคงคลังของผู้ประกอบการ (1) • ยาสูตรผสมยกเว้นพาราเซตามอล (31 สิหาคม 2555) • ยาเม็ด ~ 42ล้านเม็ด • ยาสูตรผสมพาราเซตามอล (31 สิหาคม 2555) • ยาเม็ด ~51 ล้านเม็ด • สธ. อนุมัติในหลักการให้ส่งออกไปต่างประเทศได้ • สธ.เวียนแจ้ง รพ. พิจารณาใช้ยาสูตรผสมพาราเซตามอล • อย. ขึ้นรายชื่อยาทุกสูตรไว้ใน website กอง ต. • อาจต้องขยายเวลาให้ขายยาสูตรผสมหลังครบ 1 ปี 17

  18. การมีไว้ในครอบครองซูโดอีเฟดรีนการมีไว้ในครอบครองซูโดอีเฟดรีน • ม. 62ห้ามมิให้ผู้ใดนอกจาก สธ.หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจาก สธ.ไว้ในครอบครอง หรือใช้ประโยชน์ใดๆ ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภทเว้นแต่ได้รับใบอนุญาต • ประกาศ สธ.เรื่อง กำหนดปริมาณการมีไว้ในครอบครองหรือใช้ประโยชน์ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 1 หรือประเภท 2 พ.ศ.2555 • การมีไว้ในครอบครองฯอันเป็นการฝ่าฝืน ม. 62 วรรคหนึ่งต้องระวางโทษ • จำคุกตั้งแต่ 5-20 ปี และปรับตั้งแต่ 1-4 แสนบาท (>5.0 กรัม) • จำคุกตั้งแต่ 1-5 ปี และปรับตั้งแต่ 2 หมื่น-1 แสนบาท(≤5.0 กรัม) 18

  19. การมีไว้ในครอบครองของผู้ป่วยการมีไว้ในครอบครองของผู้ป่วย • มาตรา 63 บทบัญญัติมาตรา 62 วรรคหนึ่ง ไม่ใช้บังคับแก่ (2) การมีไว้ในครอบครองของบุคคลในปริมาณพอสมควรเพื่อการเสพ การรับเข้าร่างกาย หรือการใช้ด้วยวิธีอื่นใดซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 ประเภท 3 หรือประเภท 4 ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามคำสั่งของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันชั้นหนึ่งในสาขาทันตกรรม หรือผู้ประกอบการบำบัดโรคสัตว์ชั้นหนึ่งที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์ บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรคหรือความเจ็บป่วยของบุคคลนั้นหรือสัตว์ของบุคคลนั้น 19

  20. สถานการณ์ของAlprazolam 20

  21. สถานะปัจจุบันของ Alprazolam • เป็นวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 4 • ผู้ผลิต/ผู้นำเข้าฯ ต้องได้รับใบอนุญาตฯ • ผู้ที่มีใบอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภม 3 หรือประเภท 4 • ผู้แทนขาย/ร้านขายยาฯที่มีใบอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ฯ • ผู้ที่มีไว้ในครอบครองฯ โดยไม่ต้องขอรับใบอนุญาตฯ • กระทรวง ทบวง กรม สภากาชาดไทย องค์การเภสัชฯ • แพทย์/ทันตแพทย์/สัตว์แพทย์ (ไม่เกิน 1 กรัม) • ต้องจัดทำบัญชีรับ – จ่าย และเสนอรายงานต่อ อย. ทุกเดือน/ปี 21

  22. ช่วงเวลาที่คาดว่าจะมีผลใช้บังคับช่วงเวลาที่คาดว่าจะมีผลใช้บังคับ วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 4 วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 ลงราชกิจจานุเบกษา 180 วัน ประกาศกระทรวงฯ พฤศจิกายน 2555 ปัจจุบัน พฤษภาคม - มิถุนายน 2556 22

  23. ประเด็นการพิจารณา • ร้านยาที่ซื้อ 10,000 เม็ด/ปี (ที่ไม่ส่ง บจ.9/10) • การคืนยา • ร้านขายยา และสถานพยาบาลที่ไม่มีใบอนุญาตฯ ต้องคืนก่อนวันที่เป็นวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 (พค.-มิย.56) • ต้องจัดทำบัญชีรับ – จ่าย เสนอรายงานต่อ อย. ทุกเดือน/ปี • ส่งเสริมให้ส่วนภูมิภาคใช้ระบบ Logistic ด้านวัตถุเสพติด • Update ข้อมูลสถานพยาบาลที่มีใบอนุญาตให้มีไว้ในครอบครองหรือใช้ประโยชน์ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 ในจังหวัดตนเอง • ควรมีรายชื่อสถานที่ต้องสงสัย เพื่อเฝ้าระวังและติดตามตรวจสอบ 23

  24. ขอขอบคุณ คุ้มครอง ห่วงใย ใส่ใจคุณภาพ 24

More Related