1 / 33

การประชุมคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัด ครั้งที่ 1/2557

โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด. การประชุมคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัด ครั้งที่ 1/2557 วันอังคารที่ 1 0 มิถุนายน 2557 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุมสบายดี ชั้น 4 ศาลากลางจังหวัดอุดรธานี. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1.

phyre
Download Presentation

การประชุมคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัด ครั้งที่ 1/2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด • การประชุมคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัด • ครั้งที่ 1/2557 • วันอังคารที่ 10มิถุนายน 2557 เวลา13.30 น.ณ ห้องประชุมสบายดี ชั้น 4 • ศาลากลางจังหวัดอุดรธานี • กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1

  2. ระเบียบวาระที่1 เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบระเบียบวาระที่1 เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ • ระเบียบวาระที่2 เรื่องเพื่อทราบ • 2.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 • 2.2 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานโครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด • ระเบียบวาระที่ 3เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา • 3.1ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion)และประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน1 • 3.2 เค้าโครงร่างแผนพัฒนาสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 • ระเบียบวาระที่ 4เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี) วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1ครั้งที่ 1/2557ภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันอังคารที่10มิถุนายน 2557 เวลา 13.30 น. ห้องประชุมสบายดีศาลากลางจังหวัดอุดรธานี

  3. ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1ครั้งที่ 1/2557ภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันอังคารที่10มิถุนายน 2557 เวลา 13.30 น. ห้องประชุมสบายดีศาลากลางจังหวัดอุดรธานี

  4. ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ • วาระที่ 2.1คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1ครั้งที่ 1/2557ภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันอังคารที่10มิถุนายน 2557 เวลา 13.30 น. ห้องประชุมสบายดีศาลากลางจังหวัดอุดรธานี

  5. ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ วาระที่ 2.2ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานโครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1ครั้งที่ 1/2557ภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันอังคารที่10มิถุนายน 2557 เวลา 13.30 น. ห้องประชุมสบายดีศาลากลางจังหวัดอุดรธานี

  6. โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด โดย สำนักงานสถิติแห่งชาติ ร่วมกับ สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ กรอบแนวคิดการดำเนินงานเพื่อการจัดทำแผนพัฒนาสถิติจังหวัด/กลุ่มจังหวัด + + = การพัฒนาต่อยอดและขยายชุดข้อมูลเพื่อการตัดสินใจจากประเด็นยุทธศาสตร์ใน 3 ด้าน ได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง ชุดข้อมูลที่มีความเชื่อมโยงกับตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 ทิศทางการพัฒนาตามแผนฯ 11 ยุทธศาสตร์การพัฒนาสถิติ 3 ด้าน 21 สาขา แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาสถิติระดับพื้นที่ ยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับพื้นที่ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ แบ่งออกเป็น 3 ด้าน โดยมีรายการข้อมูลหรือสถิติทางการที่สำคัญจำเป็นต่อการพัฒนาพื้นที่ 21 สาขา ครอบคลุมเรื่องเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทิศทางการพัฒนาตามแผนฯ 11 ได้จัดทำยุทธศาสตร์สำคัญ 6 ประเด็น ซึ่งให้ความสำคัญกับการพัฒนาทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ที่กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนานั้น ในกระบวนการจัดทำได้มีการทบทวนและนำแนวทางของแผนฯ 11 และวาระแห่งชาติต่างๆ ใช้ประกอบในการกำหนดทิศทางการพัฒนาพื้นที่ การพัฒนาข้อมูลให้มีเพียงพอ จึงเป็นเรื่องสำคัญที่จะช่วยตอบสนองในการจัดทำแผนหรือการกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับพื้นที่นั้นๆ ได้

  7. โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด โดย สำนักงานสถิติแห่งชาติ ร่วมกับ สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ภาคเหนือตอนบน 2 น่าน พะเยา เชียงราย น่าน ภาคเหนือตอนบน 1 เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง ภาคอีสานตอนบน 1 อุดรธานี หนองคาย เลย หนองบัวลำภู บึงกาฬ ภาคเหนือตอนล่าง 1 พิษณุโลก ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ ภาคอีสานตอนบน 2 สกลนคร นครพนม มุกดาหาร ภาคเหนือตอนล่าง 2 กำแพงเพชร พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี ภาคอีสานตอนกลาง ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ในระยะที่ผ่านมา สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้ดำเนินการพัฒนาระบบสถิติ รองรับการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง โดยให้ความสำคัญกับการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด ภาคกลางตอนบน 2 ลพบุรี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง ภาคอีสานตอนล่าง 2 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ ภาคกลางตอนล่าง 1 กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ภาคอีสานตอนล่าง 1 นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ ภาคกลางตอนล่าง ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว นครนายก สมุทรปราการ ภาคกลางตอนล่าง 2 สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ 2555 2556 2557 ภาคตะวันออก ชลบุรี ระยอง จันทยุรี ตราด นำร่อง 10 จังหวัด นำร่อง 2 กลุ่มจังหวัด พัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด ภาคกลางตอนบน 1 อยุธยา สระบุรี ปทุมธานี นนทบุรี ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย สุราษฎร์ธานี ชุมพร นครศรีธรรมราช พัทลุง ภาคใต้ฝั่งอันดามัน พังงา ระนอง ภูเก็ต กระบี่ ตรัง ภาคใต้ชายแดน สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

  8. โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด โดย สำนักงานสถิติแห่งชาติ ร่วมกับ สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ บูรณาการข้อมูลสารสนเทศระดับพื้นที่เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์การพัฒนา กลุ่มจังหวัด ประกอบการตัดสินใจเชิงพื้นที่ พัฒนาสมรรถนะของบุคลากรด้านสถิติขององค์กรภาครัฐ ให้มีความเป็นมืออาชีพด้านข้อมูลสถิติและสารสนเทศ วัตถุประสงค์หลักของโครงการ ร่างแผนพัฒนาสถิติกลุ่มจังหวัด เพื่อประกอบการตัดสินใจตามประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด ได้แก่ ข้อมูลในการบริหารจัดการ Product Champion ที่ได้รับการเลือก ปัจจัยแห่งความสำเร็จ และตัวชี้วัด (KPI) ฯลฯ ผลผลิตหลักของโครงการ

  9. จาก Product Champion และ Critical Issue สู่การพัฒนาชุดข้อมูลตามแนวคิดห่วงโซ่มูลค่า (Value Chain: VC) แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด [วิสัยทัศน์] โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด โดย สำนักงานสถิติแห่งชาติ ร่วมกับ สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ VC1 VC2 VC3 VC4 เป้าประสงค์ เป้าประสงค์1 เป้าประสงค์2 เป้าประสงค์3 ประเด็นยุทธศาสตร์ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ(CSF: Critical Success Factors) ประเด็นยุทธฯ 1 ประเด็นยุทธฯ2 ประเด็นยุทธฯ 3 CSF 1.1 CSF 1.2 … CSF 2.1 CSF 2.2 … CSF 3.1 CSF 3.2 … CSF 4.1 CSF 4.2 … 01 02 แนวทางการพัฒนาข้อมูลบนแนวคิดห่วงโซ่คุณค่า แผนพัฒนาสถิติจังหวัด/กลุ่มจังหวัด รายงานสถานการณ์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ จากCritical Success Factors สู่การกำหนดตัวชี้วัด(KPI) และชุดข้อมูลสำหรับทุกข้อต่อในValue Chain [ Data Gap Analysis ]

  10. “ ... โครงการนี้ จะช่วยสนับสนุนการกำหนดทิศทางการพัฒนาของกลุ่มจังหวัดทั้งในระดับผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) เพื่อการสร้างรายได้ให้จังหวัดและแนวทางการพัฒนาแก้ไขปัญหาสำคัญด้านต่างๆ (Critical Issues)...” ประโยชน์กลุ่มจังหวัดจะได้รับจากโครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ การกำกับราชการแบบบูรณาการ(Strategic Integrated Command) การสื่อสารความร่วมมือทางยุทธศาสตร์(Strategic Communication) การตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์(Strategic Decision) • การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาของจังหวัด เพื่อกำหนดเลือก Product Champion และCritical Issue • เครื่องมือในการกำหนดโครงการสำคัญ (Flagship Project) ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของจังหวัด • การบริหารโครงการ แผนงานและงบประมาณที่มีความสัมพันธ์กัน (โดยใช้แนวคิด Value Chain) • การตรวจสอบ และติดตาม • การประเมินผลที่ใช้ CSF – KPI ใน Value Chain ประเมินผลทั้งระดับโครงการและแผนงาน (Output by PC / CI : Area) • รายงานสถานการณ์ทางยุทธศาสตร์ (ประเด็นการพัฒนา หรือ Product Champion) • Business Intelligence / Dashboard / PMOC SWOT Product Champion & Critical Issue Flagship Projects Project Management based on VC Provincial Statistics & Database Provincial Strategic Reports Business Intelligence Strategic Dashboard BCG Budgeting Monitoring Evaluating

  11. ระเบียบวาระที่ 3เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.1ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) และประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1ครั้งที่ 1/2557ภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันอังคารที่10มิถุนายน 2557 เวลา 13.30 น. ห้องประชุมสบายดีศาลากลางจังหวัดอุดรธานี

  12. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 • วิสัยทัศน์ (Vision) “เป็นศูนย์กลางการลงทุนด้านการค้า เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การบริการ การท่องเที่ยวของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงและประชาคมอาเซียน” • เพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยว • มีโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกที่พร้อมรองรับการเป็นศูนย์กลางการลงทุนด้านต่างๆในลุ่มน้ำโขง • เพิ่มศักยภาพการตลาด การค้า และบริการ • เพิ่มผลผลิตสินค้าทางการเกษตรให้ได้มาตรฐาน และแปรรูปสินค้าเกษตร • เป้าประสงค์ • ประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1(2558-2561) • พัฒนาศักยภาพด้านการท่องเที่ยว • เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการลงทุน อุตสาหกรรม การค้า และบริการ • ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานและครบวงจร

  13. จุดยืนทางยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1

  14. สรุปผลการวิเคราะห์ศักยภาพและตำแหน่งจุดยืนทางยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด (2557-2560) • ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา • วาระที่ 3.1ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) และประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1

  15. Product Champion & Critical Issues ของจังหวัดต่างๆ ภายในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1

  16. Product Champion & Critical Issues ของจังหวัดต่างๆ ภายในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1

  17. จากประเด็นยุทธศาสตร์สู่การกำหนด Product Champion/Critical Issues ของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 • ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา • วาระที่ 3.1ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) และประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1

  18. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 • พัฒนาศักยภาพด้านการท่องเที่ยว • ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา • วาระที่ 3.1ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) และประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1

  19. ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์และการท่องเที่ยวเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน ประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาศักยภาพด้านการท่องเที่ยว กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน 1 วางยุทธศาสตร์ / แผนการท่องเที่ยว พัฒนาระบบบริหาร จัดการการท่องเที่ยว พัฒนาปัจจัย พื้นฐานด้านท่องเที่ยว /ทรัพยากร พัฒนาแหล่งและกิจกรรมท่องเที่ยว พัฒนาธุรกิจบริการ การท่องเที่ยว พัฒนาการตลาด และประชาสัมพันธ์ • พัฒนามาตรฐานมัคคุเทศก์ / ผู้นำเที่ยว • พัฒนาศักยภาพแรงงานวิชาชีพและบุคลากรด้าน การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ • ส่งเสริมการรวมกลุ่ม ผู้ประกอบการท่องเที่ยว เชิงท่องเทียวกับประเทศเพื่อนบ้าน • พัฒนาทรัพยากรทางการท่องเที่ยว • การจัดการคุณภาพ สิ่งแวดล้อม เพื่อการ ท่องเที่ยวที่ยั่งยืน • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ถนน ไฟฟ้า ป้ายบอกทาง • การจัดการปัญหาจากการท่องเที่ยว อาทิ สิ่งปฏิกูล ขยะและมลภาวะ • การพัฒนาและปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค ไฟฟ้า ประปา โครงข่ายโทรศัพท์และInternet • สร้างสรรค์กิจกรรมท่องเที่ยว ใหม่ๆ ให้สอดคล้องกับความสนใจ • จัดทำมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว • ส่งเสริม/อนุรักษ์/ฟื้นฟู/ปรับปรุง/บูรณะ/พัฒนา แหล่งท่องเที่ยวเชิง..... • ยกระดับคุณภาพสิ่งอำนวยความสะดวกในสถานที่ท่องเที่ยว เช่นห้องน้ำและน้ำดื่มสาธารณะเช่นห้องน้ำและน้ำดื่มสาธารณะ • การรับรองมาตรฐานที่พักและโรงแรม • พัฒนามาตรฐานธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว อาทิ ร้านอาหาร โชว์พิเศษต่างๆ • พัฒนามาตรฐานสินค้า ของฝากและของที่ระลึก • พัฒนามาตรฐานธุรกิจ นำเที่ยว • สนับสนุนธุรกิจการจัดประชุมและสัมมนา (MICE) • การทำการตลาดกลุ่มนัก ท่องเที่ยวคุณภาพ • ประชาสัมพันธ์สร้างภาพลักษณ์ • การตลาดเชิงรุก ผ่านสื่อสมัยใหม่ (Social Network) • การวางแผนและกำหนดตำแหน่งเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Positioning) สำหรับการท่องเที่ยวเชิง...... • การกำหนดนักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมาย • การรวบรวมและจัดทำข้อมูลสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรม • การกำหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว (Carrying Capacity) • สร้างความเชื่อมั่นด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน • การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน • การเชื่อมโยงและจัดเส้นทาง (routs) การท่องเที่ยวระหว่างจังหวัด

  20. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่2ประเด็นยุทธศาสตร์ที่2 • เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการลงทุน อุตสาหกรรม การค้า และบริการ • ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา • วาระที่ 3.1ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) และประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1

  21. ประเด็นยุทธศาสตร์ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการลงทุน อุตสาหกรรม การค้า และบริการ พัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกของเมืองและด่านชายแดนให้ได้มาตรฐานสากล กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน 1 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาผู้ประกอบการและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ พัฒนาการเป็นศูนย์กลางโลจิส ติกส์ให้บริการธุรกิจการค้า พัฒนาด้านการตลาดและการบริการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาเมืองและชุมชนให้ น่าอยู่ มีระบบสาธารณูปโภคที่ดี เลย • การขยาย/ปรับปรุงระบบการให้บริการน้ำประปา • การขยาย/ปรับปรุงระบบการให้บริการไฟฟ้า • การขยาย/ปรับปรุงระบบการให้บริการโทรศัพท์ • การพัฒนาเมืองให้น่าอยู่มีสิ่งแวดล้อมที่ดีและมีคุณภาพ • การจัดการมลพิษ (คุณภาพน้ำอากาศ/ขยะและของเสียอันตรายชุมชนและอุตสาหกรรม) • การจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน (พื้นที่สีเขียวและภูมิทัศน์) • การปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ • ขยายพื้นที่ให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ • ส่งเสริมให้ประชาชนมีโอกาสเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ • พัฒนาผู้ประกอบการให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันรองรับการค้าการลงทุน • พัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ในธุรกิจโลจิสติกส์ เพื่อยกระดับธุรกิจสู่เกณฑ์มาตรฐาน • การส่งเสริม พัฒนาการรวมกลุ่มผู้ประกอบการค้า • สร้างและขยายเครือข่ายการค้า การลงทุนทั้งในและต่างประเทศ • การยกระดับความพร้อมด้านเทคโนโลยี (Technology Readiness) • พัฒนาแรงงานให้มีฝีมือเพื่อรองรับการเป็นศูนย์กลาง โลจิสติกส์ • การการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า • การพัฒนาประสิทธิภาพและลดต้นทุนการขนส่งและกระจายสินค้า • การลดอัตราการสูญเสียระหว่างขนส่ง • การลดต้นทุนในการบริหารจัดการและเก็บรักษาสินค้าคงคลัง • การจัดการงานด้านศุลกากร (ส่งออก/นำเข้า) • เชื่อมโยงเครือข่ายธุรกิจ โลจิสติกส์ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน • เตรียมชุมชนให้มีความพร้อมเข้าสู่ศูนย์กลางโลจิสติกส์ • การทำการตลาดและประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ • การจัดกิจกรรมส่งเสริมเครือข่ายธุรกิจโลจิสติกส์ เช่นการรับแจ้งปัญหา เกี่ยวกับการขนส่งสินค้า เป็นต้น • การพัฒนา/ปรับปรุงเส้นทางสายหลัก • การพัฒนา/ปรับปรุงเส้นทางสายรอง • การพัฒนา/ปรับปรุงการขนส่งทางราง • การพัฒนา/ปรับปรุงการขนส่งทางอากาศ

  22. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่3ประเด็นยุทธศาสตร์ที่3 • ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานและครบวงจร • ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา • วาระที่ 3.1ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) และประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1

  23. ประเด็นยุทธศาสตร์ ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานและครบวงจร การส่งเสริมมาตรฐานการผลิตข้าวปลอดภัย กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน 1 การวิจัยและพัฒนา (R&D) การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูป และสร้าง มูลค่าเพิ่ม การขนส่งสินค้าและจัดการบริหาร สินค้า (Logistics) พัฒนาระบบการตลาด พัฒนาปัจจัยพื้นฐาน และพัฒนาเกษตรกร • การบริหารจัดการน้ำเพื่อการเพาะปลูก • การบริหารจัดการการใช้ที่ดิน (Zoning) • การจัดหาและกระจายกล้าข้าวพันธุ์ดีให้เกษตรกร • การเตรียมพื้นที่เพาะปลูกและการปรับปรุงคุณภาพดิน • การรวมกลุ่มเกษตรกรและสร้างเครือข่าย • การสร้างองค์ความรู้และขีดความสามารถให้เกษตรกร • มีเครือข่ายสถาบันการเงิน/กองทุนเพื่อช่วยเหลือด้านการเงินให้เกษตรกร • ส่งเสริมระบบการผลิตที่ดีและเหมาะสม (GAP) • การใส่ปุ๋ยการใช้สารเคมี และการกำจัดศัตรูพืช • เกษตรกรมีแผนการผลิตและแผนการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม (Crop Planning) • การเพิ่มผลิตภาพการปลูกข้าว • การส่งเสริมมาตรฐานการผลิตเกษตรอุตสาหกรรม (GMP) • สนับสนุนให้นำระบบเกษตรวัสดุเหลือใช้ (Zero Waste) มาปฏิบัติ • ส่งเสริมการแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม • มีระบบการขนส่งและกระจายสินค้าที่ปลอดภัยและมีมาตรฐาน • เพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการขนส่ง • พัฒนาตลาดกลางและศูนย์จำหน่ายสินค้า • พัฒนาตลาดซื้อขายล่วงหน้า (Future Market) • ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการขาย • สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการส่งเสริมการคลาด • การวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวที่ดีและเหมาะสมกับพื้นที่ • การจัดทำข้อมูลต้นทุนการผลิต • การวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเพิ่มผลผลิต • การวิเคราะห์ความต้องการของตลาดและแนวโน้มสถานการณ์ข้าวทั้งในและต่างประเทศ

  24. ประเด็นยุทธศาสตร์ ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานและครบวงจร การส่งเสริมมาตรฐานการผลิตอ้อย และการแปรรูป กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน 1 การวิจัยและพัฒนา (R&D) การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูป และสร้าง มูลค่าเพิ่ม การขนส่งสินค้าและจัดการบริหาร สินค้า (Logistics) พัฒนาระบบการตลาด พัฒนาปัจจัยพื้นฐาน และพัฒนาเกษตรกร • การบริหารจัดการน้ำเพื่อการเพาะปลูก • การบริหารจัดการการใช้ที่ดิน (Zoning) • การจัดหาและกระจายพันธ์อ้อยที่ดีให้เกษตรกร • การเตรียมพื้นที่เพาะปลูกและการปรับปรุงคุณภาพดิน • การรวมกลุ่มเกษตรกรและสร้างเครือข่าย • การสร้างองค์ความรู้และขีดความสามารถให้เกษตรกร • มีเครือข่ายสถาบันการเงิน/กองทุนเพื่อช่วยเหลือด้านการเงินให้เกษตรกร • ส่งเสริมระบบการผลิตที่ดีและเหมาะสม (GAP) • การใส่ปุ๋ยการใช้สารเคมี และการกำจัดศัตรูพืช • เกษตรกรมีแผนการผลิตและแผนการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม (Crop Planning) • การเพิ่มผลิตภาพการเพาะปลูกอ้อย • การส่งเสริมมาตรฐานการผลิตเกษตรอุตสาหกรรม (GMP) • สนับสนุนให้นำระบบเกษตรวัสดุเหลือใช้ (Zero Waste) มาปฏิบัติ • ส่งเสริมการแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม • มีระบบการขนส่งและกระจายสินค้าที่ปลอดภัยและมีมาตรฐาน • เพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการขนส่ง • พัฒนาตลาดกลางและศูนย์จำหน่ายสินค้า • พัฒนาตลาดซื้อขายล่วงหน้า (Future Market) • ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการขาย • สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการส่งเสริมการคลาด • การวิจัยและพัฒนาพันธุ์อ้อยที่ดีและเหมาะสมกับพื้นที่ • การจัดทำข้อมูลต้นทุนการผลิต • การวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเพิ่มผลผลิต • การวิเคราะห์ความต้องการของตลาดและแนวโน้มสถานการณ์อ้อยทั้งในและต่างประเทศ

  25. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตยางพาราและการสร้างมูลค่าเพิ่มการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตยางพาราและการสร้างมูลค่าเพิ่ม ประเด็นยุทธศาสตร์ ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานและครบวงจร กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน 1 การวิจัยและพัฒนา (R&D) การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูป และสร้าง มูลค่าเพิ่ม การขนส่งสินค้าและจัดการบริหาร สินค้า (Logistics) พัฒนาระบบการตลาด พัฒนาปัจจัยพื้นฐาน และพัฒนาเกษตรกร • การบริหารจัดการน้ำเพื่อการเพาะปลูก • การบริหารจัดการการใช้ที่ดิน (Zoning) • การจัดหาและกระจายกล้ายางพันธุ์ดีให้เกษตรกร • การเตรียมพื้นที่เพาะปลูกและการปรับปรุงคุณภาพดิน • การรวมกลุ่มเกษตรกรและสร้างเครือข่าย • การสร้างองค์ความรู้และขีดความสามารถให้เกษตรกร • มีเครือข่ายสถาบันการเงิน/กองทุนเพื่อช่วยเหลือด้านการเงินให้เกษตรกร • ส่งเสริมระบบการผลิตที่ดีและเหมาะสม (GAP) • การใส่ปุ๋ยการใช้สารเคมี และการกำจัดศัตรูพืช • เกษตรกรมีแผนการผลิตและแผนการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม (Crop Planning) • การเพิ่มผลิตภาพการกรีดยาง การเก็บและรักษาน้ำยาง • การส่งเสริมมาตรฐานการผลิตเกษตรอุตสาหกรรม (GMP) • สนับสนุนให้นำระบบเกษตรวัสดุเหลือใช้ (Zero Waste) มาปฏิบัติ • ส่งเสริมการแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม • มีระบบการขนส่งและกระจายสินค้าที่ปลอดภัยและมีมาตรฐาน • เพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการขนส่ง • พัฒนาตลาดกลางและศูนย์จำหน่ายสินค้า • พัฒนาตลาดซื้อขายล่วงหน้า (Future Market) • ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการขาย • สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการส่งเสริมการตลาด • การวิจัยและพัฒนาพันธุ์ยางพาราที่ดีและเหมาะสมกับพื้นที่ • การจัดทำข้อมูลต้นทุนการผลิต • การวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเพิ่มผลผลิต • การวิเคราะห์ความต้องการของตลาดและแนวโน้มสถานการณ์ยางพาราทั้งในและต่างประเทศ

  26. จาก Product Champion และ Critical Issues สู่การพัฒนาชุดข้อมูลตามแนวคิดห่วงโซ่มูลค่า (Value Chain) • แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด • ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา • วาระที่ 3.1ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) และประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 • [ Data Gap Analysis ] • [วิสัยทัศน์] • VC2 • VC3 • VC4 • VC1 • เป้าประสงค์ • เป้าประสงค์ 2 • เป้าประสงค์ 3 • เป้าประสงค์ 1 • ประเด็นยุทธศาสตร์ • ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (CSF: Critical Success Factors) • ประเด็นยุทธฯ 1 • ประเด็นยุทธฯ 2 • ประเด็นยุทธฯ 3 • CSF 1.1 • CSF 1.2 • … • CSF 2.1 • CSF 2.2 • … • CSF 3.1 • CSF 3.2 • … • CSF 4.1 • CSF 4.2 • … • 01 • 02 • แผนพัฒนาสถิติจังหวัด/กลุ่มจังหวัด • รายงานสถานการณ์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ • จาก Critical Success Factors สู่การกำหนดตัวชี้วัด (KPI) และชุดข้อมูลสำหรับทุกข้อต่อใน Value Chain แนวทางการพัฒนาข้อมูลบนแนวคิดห่วงโซ่คุณค่า

  27. ตัวอย่าง • ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา • วาระที่ 3.1ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) และประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 รายชื่อหน่วยงานหลัก 16 หน่วยงาน ที่บูรณาการฐานข้อมูล “ข้าวปลอดภัย” • สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร • ศูนย์วิจัยข้าว • ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว • เกษตรจังหวัด • สถานีพัฒนาที่ดินจังหวัด • เกษตรและสหกรณ์จังหวัด • สำนักงานสหกรณ์จังหวัด • สรุปช่องว่างการพัฒนาการจัดเก็บข้อมูลเพื่อให้มีข้อมูลสนับสนุนการบริหารยุทธศาสตร์

  28. สรุปประเด็นยุทธศาสตร์สู่การกำหนด Product Champion/Critical Issues ของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 • ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา • วาระที่ 3.1ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) และประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1

  29. ประเด็นเพื่อพิจารณา • ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา • วาระที่ 3.1ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) และประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 • ขอความเห็นชอบในหลักการ ProductChampion/CriticalIssue ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 ตามเสนอ • เห็นชอบในหลักการแนวทางการพัฒนาข้อมูลตามแนวคิดห่วงโซ่มูลค่า (ValueChain)ของ ProductChampion/CriticalIssue ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 • เพื่อให้การพัฒนาข้อมูลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและตรงตามประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด เห็นควรพิจารณาแต่งตั้งคณะทำงานตาม ProductChampion/CriticalIssueทั้งนี้ มอบหมายให้ฝ่ายเลขานุการประสานงานจัดทำคำสั่งเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณาลงนามแต่งตั้งต่อไป

  30. ระเบียบวาระที่ 3เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา วาระที่3.2เค้าโครงร่างแผนพัฒนาสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1ครั้งที่ 1/2557ภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันอังคารที่10มิถุนายน 2557 เวลา 13.30 น. ห้องประชุมสบายดีศาลากลางจังหวัดอุดรธานี

  31. ตัวอย่าง แผนพัฒนาสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 • กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 พ.ศ. ๒๕๕๗

  32. ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา • วาระที่ 3.2เค้าโครงร่างแผนพัฒนาสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 • ประเด็นพิจารณา พิจารณาเห็นชอบในหลักการเค้าโครงร่างแผนพัฒนาสถิติระดับกลุ่มจังหวัดตามเสนอ

  33. ระเบียบวาระที่ 4เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี) วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1ครั้งที่ 1/2557ภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันอังคารที่10มิถุนายน 2557 เวลา 13.30 น. ห้องประชุมสบายดีศาลากลางจังหวัดอุดรธานี

More Related