1 / 29

รายงานความก้าวหน้า ครั้งที่ 1

รายงานความก้าวหน้า ครั้งที่ 1. สถานภาพธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ. คณะนักวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี. 21 ธันวาคม 2552. วิธีการดำเนินงาน.

phyre
Download Presentation

รายงานความก้าวหน้า ครั้งที่ 1

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 สถานภาพธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ คณะนักวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 21 ธันวาคม 2552

  2. วิธีการดำเนินงาน 1. สุ่มเลือกมหาวิทยาลัยราชภัฏที่จะใช้เป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 10 แห่ง และมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ รวม 11 แห่ง 2. ศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร ประกอบด้วย 2.1 รายงานประจำปี 3 ปีย้อนหลัง 2.2 บันทึกรายงานการประชุมสภามหาวิทยาลัย 3 ปีย้อนหลัง 2.3 ระเบียบ ข้อบังคับของมหาวิทยาลัย 3 ปีย้อนหลัง 2.4 พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. 2518 และ พ.ศ. 2527 2.5 พระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2538 2.6 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 3. สัมภาษณ์ 4. การสนทนากลุ่ม

  3. มหาวิทยาลัยราชภัฏที่เป็นกลุ่มตัวอย่างมหาวิทยาลัยราชภัฏที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ในการศึกษา ผู้วิจัยจัดกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏตามการจัดกลุ่มของ สหวิทยาลัยเดิมที่มี 8 กลุ่ม และผู้วิจัยเพิ่มกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏที่จัดตั้งขึ้นใหม่ 5 แห่ง ในปี พ.ศ. 2540 รวมเป็น 9 กลุ่ม 11 แห่งที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง รายชื่อของมหาวิทยาลัยราชภัฏที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง

  4. สถานภาพธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ จากการวิเคราะห์เอกสาร

  5. ผลที่ได้จากการวิเคราะห์เอกสารผลที่ได้จากการวิเคราะห์เอกสาร 1. ประวัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ 2. ข้อมูลพื้นฐาน 3. สถานภาพธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย 3.1 ธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยในมหาวิทยาลัยราชภัฏ ช่วงที่เป็นโรงเรียนฝึกหัดครู และวิทยาลัยครู (พ.ศ. 2435 - 2517) 3.2 ธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยในมหาวิทยาลัยราชภัฏ ช่วงประกาศใช้ พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. 2518 (พ.ศ. 2518 - 2537) 3.3 ธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยในมหาวิทยาลัยราชภัฏ ช่วงประกาศใช้ พระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2538 (พ.ศ. 2538 - 2546) 3.4 ธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยในมหาวิทยาลัยราชภัฏ ช่วงประกาศใช้ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 (พ.ศ. 2547 - ปัจจุบัน)

  6. ประวัติมหาวิทยาลัยราชภัฏประวัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ

  7. มหาวิทยาลัยราชภัฏ สถาบันราชภัฏ วิทยาลัยครู โรงเรียนฝึกหัดครู

  8. ระยะที่ 2 พ.ศ. 2497 - 2534 ระยะที่ 1 พ.ศ. 2435 - 2496 วิทยาลัยครู โรงเรียนฝึกหัดครู 2547 ภูมิภาค 14 แห่ง กทม 7 แห่ง 2540 ภูมิภาค 15 แห่ง เป็นส่วนราชการสังกัดกรมการฝึกหัดครู 2538 เป็นส่วนราชการ ผู้บริหารแต่งตั้งจากส่วนกลาง 2535 พรบ.วิทยาลัยครูฉบับที่ 2 พรบ. มหาวิทยาลัยราชภัฏ 2528 พรบ.วิทยาลัยครู ต่ำกว่าปริญญาตรี 2527 ชัยภูมิ มีหลายหน่วยงานรับผิดชอบ 2518 วิทยาลัยครู 7 แห่ง เป็นนิติบุคคล สังกัด สกอ. 2516 วิทยาลัยครู 4 แห่ง สวนดุสิต 2515 พรบ. สถาบันราชภัฏ จัดตั้ง สหวิทยาลัย วไลยอลงกรณ์ 2507 ระยะที่ 4 พ.ศ. 2547 - ปัจจุบัน พระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” 2497 นครราชสีมา มหาวิทยาลัยราชภัฏ สถาบันราชภัฏ 2477 เพชรบูรณ์ พระนคร จันทบุรี ระยะที่ 3 พ.ศ. 2535 - 2546 2475 กาญจนบุรี สกลนคร 2457 เชียงราย เป็นส่วนราชการสังกัดสำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ สุราษฎร์ธานี กรมฝึกหัดครู 2435

  9. ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนบุคลากร จำนวนผู้บริหาร วุฒิการศึกษาของคณาจารย์ประจำ ตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์ประจำ งบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย งบประมาณแผ่นดิน จำนวนหลักสูตร จำนวนนักศึกษา จำนวนหลักสูตรที่เปิดสอน การประเมินผลการปฏิบัติงานของ กพร.

  10. ธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยในมหาวิทยาลัยราชภัฏช่วงที่เป็นโรงเรียนฝึกหัดครู และวิทยาลัยครู (พ.ศ. 2435 - 2517)

  11. รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนฝึกหัดครู และวิทยาลัยครู ก่อนการประกาศใช้พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. 2518

  12. 1. ยึดหลักการบริหารที่มุ่งเน้นประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในรูปแบบของการเป็นส่วนราชการ 2. เคารพนับถือและให้ความสำคัญกับตัวบุคคลผู้ทำหน้าที่เป็นผู้บังคับบัญชาหรือผู้ให้ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะที่นำไปสู่การปฏิบัติ การกำหนดแนวปฏิบัติ ตลอดจนการกำหนดแนวนโยบาย 3. ให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติตามคำสั่ง หรือปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา 4. การปฏิบัติงานโดยยึดกฎ ระเบียบ และหลักเกณฑ์ของทางราชการ มีความรับผิดชอบต่อผลที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่รับผิดชอบ 5. การบริหารจัดการหน่วยงาน เป็นเรื่องของผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสูงสุดในแต่ระดับของการบังคับบัญชา เช่นระดับกรมการฝึกหัดครู หรือระดับกระทรวง

  13. 6. ไม่พบว่ามีการตรวจสอบผลการปฏิบัติงานอย่างเป็นทางการโดยองค์การต่างๆ 7. ไม่พบการมีส่วนร่วมในระดับบุคคล หรือระดับองค์การในการบริหารจัดการ การกำหนดนโยบาย การกำกับติดตาม การตรวจสอบประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน 8. ความเป็นอิสระในการบริหารจัดการ ความเป็นอิสระในการดำเนินงานมีน้อย เพราะต้องดำเนินการบริหารจัดการหน่วยงานให้เป็นไปตามที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการ หรือมอบหมาย 9. ความเป็นอิสระทางวิชาการไม่มี เพราะไม่สามารถสร้างหลักสูตรขึ้นมาเพื่อใช้ในการเรียนการสอนได้

  14. สถานภาพธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย ในมหาวิทยาลัยราชภัฏช่วงประกาศใช้พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. 2518 (พ.ศ. 2518 - 2536)

  15. รูปแบบการบริหารจัดการวิทยาลัยครู ตามพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. 2518 และพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2527

  16. 1. มีการควบคุมการบริหารจัดการที่เป็นระบบ มีการใช้องค์คณะบุคคลร่วมกับบุคคลในการบริหารวิทยาลัยครู 2. มีระบบการตรวจสอบ การกำกับติดตามการปฏิบัติงานของวิทยาลัยครู 3. ผู้บริหารสูงสุดของวิทยาลัยครูเปลี่ยนจากผู้อำนวยการเป็นอธิการ 4. กำหนดให้มีองค์คณะบุคคลที่เรียกว่า "สภาการฝึกหัดครู" ทำหน้าที่บริหารวิทยาลัยครูทั้งหมด 5. องค์ประกอบของคณะบุคคลที่เรียกว่า "สภาการฝึกหัดครู" มาจากหลายหน่วยงานทั้งที่อยู่ในกระทรวงศึกษาธิการ และนอกกระทรวงศึกษาธิการ มีบุคคลภายนอกระบบราชการเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการของสภาการฝึกหัดครู

  17. 6. กำหนดให้มีคณะบุคคลที่เรียกว่า "คณะกรรมการประจำวิทยาลัยครู" ทำหน้าที่เสมือนหนึ่งเป็นกรรมการบริหารวิทยาลัยครู 7. อำนาจบังคับบัญชารับผิดชอบในการบริหารงานของวิทยาลัยครูยังเป็นของผู้ดำรงตำแหน่งอธิการ 8. กำหนดอำนาจและหน้าที่ของสภาการฝึกหัดครู และคณะกรรมการประจำวิทยาลัยครูอย่างชัดเจน 9. มีระบบการตรวจสอบการปฏิบัติงาน รวมถึงการเปิดโอกาสให้บุคลากรในวิทยาลัยครูแต่ละแห่งมีส่วนร่วมในการบริหารวิทยาลัยครู 10. ความเป็นอิสระในการบริหารจัดการ ความเป็นอิสระในการดำเนินงานมีมากขึ้น เพราะสามารถดำเนินการบริหารจัดการภายในวิทยาลัยครูได้ตามอำนาจหน้าที่ของผู้เป็นอธิการ

  18. 11. กฎ ระเบียบที่ใช้เพื่อการบริหารจัดการภายในวิทยาลัยครู สามารถจัดทำขึ้นมาได้โดยผ่านความเห็นชอบของสภาการฝึกหัดครู 12. ความเป็นอิสระทางวิชาการมีมากขึ้น เพราะวิทยาลัยครูแต่ละแห่งสามารถพัฒนาหลักสูตร รวมถึงระเบียบการวัดและประเมินผลขึ้นมาใช้เอง หรือใช้ร่วมกันได้ภายในกลุ่มวิทยาลัยครู

  19. การตรวจสอบการดำเนินงานของวิทยาลัยครู ในเรื่องการพิจารณาอนุมัติหลักสูตร

  20. สถานภาพธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย ในมหาวิทยาลัยราชภัฏช่วงประกาศใช้พระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2537 (พ.ศ. 2537 - 2546)

  21. อยู่ในระหว่างการวิเคราะห์ข้อมูลอยู่ในระหว่างการวิเคราะห์ข้อมูล

  22. สถานภาพธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย ในมหาวิทยาลัยราชภัฏประกาศใช้พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 (พ.ศ. 2547 - ปัจจุบัน)

  23. อยู่ในระหว่างการวิเคราะห์ข้อมูลอยู่ในระหว่างการวิเคราะห์ข้อมูล

  24. การสัมภาษณ์/การสนทนากลุ่มการสัมภาษณ์/การสนทนากลุ่ม

  25. มหาวิทยาลัยราชภัฏมีการเมืองข้างใน มหาวิทยาลัยราชภัฏมีการเมืองข้างใน • มาเป็นผู้บริหารเพราะคิดว่ามีเงินประจำตำแหน่ง มีผลประโยชน์ • มหาวิทยาลัยราชภัฏตั้งขึ้นมาบนความไม่พร้อมในทุกๆ ด้าน • มหาวิทยาลัยราชภัฏมีความหลากหลายในอัตลักษณ์ • สภามหาวิทยาลัยไม่มีกลไกในการกำกับติดตามการดำเนินงานของฝ่ายบริหาร • ใช้ประสบการณ์ของกรรมการสภาในการพิจารณาเรื่องต่างๆ • ใช้ข้อมูลที่ฝ่ายบริหารเตรียมให้ ถ้าตองการเพิ่มต้องขอ หรือซักถามในที่ประชุม • สภาไม่มีข้อมูลจากแหล่งอื่นๆ ที่จะใช้ประกอบการพิจารณา • กรรมการสภาที่เป็นบุคคลในมหาวิทยาลัยควรมีให้น้อย ควรเพิ่มกรรมการจากผู้ทรงคุณวุฒภายนอกให้มาก

  26. ผู้ทรงคุณวุฒิไม่มีเวลามาประชุม • ผู้ทรงคุณวุฒิไม่ค่อยแสดงความคิดเห็น • หาผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่างๆ ยาก โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยราชภัฏต่างจังหวัด • การตีความกฎหมายขาดความถูกต้อง ชัดเจน มีผลต่อการบริหาร • ผู้แทนคณาจารย์ ประธารสภาคณาจารย์และข้าราชการถูกมองว่าเป็นฝ่ายค้านในสภามหาวิทยาลัย • ฝ่ายบริหารเป็นผู้เสนอเรื่องเข้าสู่การพิจารณา • คณาจารย์ บุคลากรมีส่วนร่วมกับการบริหารน้อยเพราะเป็นเรื่องของฝ่ายบริหารเท่านั้น • สำนักงานเลขานุการสภามหาวิทยาลัยจะมีหรือไม่มีขึ้นอยู่กับบริบทการบริหารของมหาวิทยาลัย

  27. บุคลากรของมหาวิทยาลัยไม่ให้ความสำคัญกับการดำเนินงานของสภามหาวิทยาลัย • เรื่องที่เสนอสภามหาวิทยาลัยมักเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร การพิจารณานโยบาย การเสนอแนวทางการบริหารไม่มี หรือมีน้อยมาก • มีการตั้งอนุกรรมการพิจารณาเรื่องต่างๆ บ้างเหมือนกัน • กฎ ระเบียบ ข้อบังคับเป็นเรื่องที่ฝ่ายบริหารจะพิจารณานำเสนอสภาเพื่อการอนุมัติ • มีความซ้ำซ้อนกันของกรรมการสภามหาวิทยาลัย กรรมการสภาวิชาการ • กรรมการผู้แทนคณาจารย์เป็นผู้บริหาร(รองผู้อำนวยการ ผู้ช่วยอธิการบดี) โดยอ้างว่าข้อบังคับไม่ได้ห้าม

  28. สรุป สถานภาพธรรมภิบาลมหาวิทยาลัย ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ ประกอบด้วย 1. ธรรมาภิบาลที่เกิดจากการดำเนินงานของ สภามหาวิทยาลัย 2. ธรรมาภิบาลที่เกิดจากการบริหารจัดการของผู้บริหาร

More Related