280 likes | 501 Views
“แนวทางการพัฒนาศักยภาพและสรรหาบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ในสายกระบวนการยุติธรรม เพื่อรองรับการพิจารณาคดีทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” การประชุมจัดโดย สำนักงานศาลยุติธรรมร่วมกับเนคเทค ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ ห้องประชุม บยส. ชั้น ๘ อาคารสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการ สำนักงานศาลยุติธรรม.
E N D
“แนวทางการพัฒนาศักยภาพและสรรหาบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน“แนวทางการพัฒนาศักยภาพและสรรหาบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ในสายกระบวนการยุติธรรม เพื่อรองรับการพิจารณาคดีทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” การประชุมจัดโดย สำนักงานศาลยุติธรรมร่วมกับเนคเทค ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ ห้องประชุม บยส. ชั้น ๘ อาคารสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการ สำนักงานศาลยุติธรรม พัฒนาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและผลกระทบทางกฎหมาย จริยธรรม และสังคม ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สวทช.
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเปลี่ยนเร็วกว่าแสงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเปลี่ยนเร็วกว่าแสง • เมื่อยี่สิบปีที่แล้ว • โทรศัพท์มือถือเหมือนท่อนซุง • เมืองไทยเพิ่งรู้จักอินเตอร์เน็ต • วิทยาการเรื่องยีนและพันธุวิศวกรรมยังไม่แพร่หลาย • เมื่อสิบปีที่แล้ว • คนยังไม่รู้จักนาโนเทคโนโลยี • การเพาะสเต็มเซลล์ยังทำได้ในวงจำกัด
Emerging Technology Areas ฯลฯ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็ก ฯลฯ เทคโนฯ เพื่อการแข่งขันทางธุรกิจ รถยนต์ประหยัดพลังงาน ฯลฯ พลังงานแสงอาทิตย์ สังคมไทย เทคโนฯ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ฯลฯ การสื่อสารไร้สาย เทคโนโลยีดีเอ็นเอ ฯลฯ เทคโนโลยีชีวภาพทางการแพทย์ พืชดัดแปลงพันธุกรรม ฯลฯ
จากความเห็นของ ดร. โกศล เพ็ชร์สุวรรณ
ผลกระทบของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อสังคมผลกระทบของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อสังคม • ผลกระทบสูงในด้านบวก (ความเป็นอยู่ สุขภาพ การค้า อุตสาหกรรม บริการ เกษตรกรรม ฯลฯ) • มีผลกระทบในด้านลบด้วย (อาวุธร้ายแรง ไอทีที่ใช้ในอาชญากรรม ยาเสพติด) • มีการเปลี่ยนแปลงเร็ว และส่งผลกระทบเชิงเสี่ยงที่ยังไม่เข้าใจดีนักด้วย
ตัวอย่างผลกระทบต่อกระบวนการยุติธรรม: ลายนิ้วมือ ดี เอ็น เอ • เตรียม DNA จากหลักฐาน • ตัดเป็นชิ้น ได้กลุ่ม DNA ย่อยลักษณะเฉพาะตัว • แยกชิ้นต่างๆด้วยไฟฟ้า ชิ้นเล็กวิ่งไกลกว่า • ได้แผนที่แบบบาร์โค้ดเฉพาะตัว
ประเด็นทางจริยธรรม สังคมและกฎหมาย (ESLI, Ethical, social and legal issues)ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • ประเด็นด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีมานานแล้ว • ด้านชีวิตและสุขภาพ • การดูแลรักษาสุขภาพ • การใช้ยาเสพติด และสิ่งกระตุ้น • การเอาเปรียบหรือหลอกลวงผู้บริโภค • ด้านความเป็นอยู่ และการงานอาชีพ • การเปลี่ยนแปลงหรือทำลายสิ่งแวดล้อม • การทำความผิดเกี่ยวกับการสื่อสาร • การล่วงละเมิดสิทธิส่วนบุคคล ความขัดแย้งระหว่างสิทธิส่วนบุคคลและผู้อื่น • การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา ฯลฯ
ประเด็นทางจริยธรรม สังคมและกฎหมาย (ESLI, Ethical, social and legal issues)ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • มีประเด็นด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เกิดใหม่หรือลดความสำคัญลง • สังคมเปลี่ยนแปลง • ความสำคัญของสิทธิมนุษยชน ประชาธิปไตย ฯลฯ เพิ่มขึ้น • เกณฑ์จริยธรรมเปลี่ยนไป (เช่น ด้านการขัดผลประโยชน์ ความเท่าเทียมทางเพศ ฯลฯ) • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลง • พลังมากขึ้น ทำสิ่งที่เดิมทำไม่ได้มากขึ้น • สังคมไม่มีตัวอย่างจากอดีตให้ช่วยตัดสิน
ตัวอย่างผลผลิตที่เกี่ยวโยงกับประเด็นทางจริยธรรม สังคมและกฎหมาย • ยาสมัยใหม่ • ราคา และประเด็นทรัพย์สินทางปัญญา (ตย. ปัญหาจากcompulsory licensing) • ประเด็นราคาและความเสมอภาคจากPharmacogenomics • GMO/Nanoproducts/Other new products • ผลต่อสิ่งแวดล้อมระยะยาว • ความปลอดภัยต่อผู้บริโภค • ผลต่อการพาณิชย์
ตัวอย่างผลผลิตที่เกี่ยวโยงกับประเด็นทางจริยธรรม สังคมและกฎหมาย • การโคลนและสเต็มเซลล์ • การโฆษณาเกินจริง หรือหลอกลวงผู้บริโภค • ความปลอดภัยจากมะเร็ง หรือความเสี่ยงอื่น • แพงมาก เฉพาะคนรวยจึงทำได้ • มนุษย์จากโคลนนิงมีสถานภาพทางสังคมและกฎหมายอย่างไร
ความเสี่ยงที่ควรคำนึง:ความปลอดภัยชีวภาพ (Biosafety) และความปลอดภัยนาโน (Nanosafety) • ความปลอดภัยต่อ • ผู้บริโภค • สิ่งแวดล้อม • ความปลอดภัยชีวภาพ - Biosafety • GMO • การโคลน และการใช้สเต็มเซลล์ • ความปลอดภัยนาโน - Nanosafety • อนุภาคนาโน • ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยเมื่อมีผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ๆแต่อย่าตระหนกจนเสียสมดุล
ตัวอย่าง: การใช้ GMOs ในเชิงพาณิชย์และการปลดปล่อยสู่สิ่งแวดล้อม เป็นโครงการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบรุนแรงตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 มาตรา 67 วรรคสอง หรือไม่ • มีการใช้ประโยชน์ GMOs ในประเทศต่างๆ ทั่วโลก มาแล้วประมาณ 30 ปี • ต้องตรวจความปลอดภัยทั้งด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด ก่อนนำไปใช้โดยวิธีการสากลเช่น กำหนดโดย WHO, FAO • กฎหมาย เช่น พรบ. กักพืช พ.ศ. 2507 (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2542) พรบ.อาหาร พ.ศ. 2522 ควบคุมอยู่แล้ว และมีการเตรียมร่าง พรบ. ความปลอดภัยชีวภาพ เพื่อให้มีการใช้อย่างเหมาะสม • ดังนั้น ไม่น่าจะต้อง “ล้อมคอก” ซ้ำอีก
Has science and technology created a GODZILLA? or many of THEM?
ทิศทางอนาคต: สู่ธรรมาภิบาลวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • ประชาชนทั่วไปและนักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีควรสนใจประเด็นจริยธรรมและธรรมาภิบาลมากขึ้น • ควรร่วมกันคิดจัดทำจรรยาบรรณวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับนักวิทยาศาสตร์ แพทย์ และวิศวกร โดยเฉพาะด้านที่เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม • สถาบันการศึกษาควรมีหลักสูตรและการวิจัยด้านจริยธรรมและคุณธรรมทางวิทยาศาสตร์ละเทคโนโลยี • รัฐบาลและรัฐสภาควรพิจารณาออกกฎหมายและระเบียบใหม่เท่าที่จำเป็น
หลายมิติของประเด็นจริยธรรม สังคมและกฏหมายใน วท. • มิติวิทยาการ • “มีดสองคม”ที่คมมากขึ้นเรื่อยๆ เช่น ด้านยีน นาโนเทค สารสนเทศ วัสดุ • การเจาะลึกและแยกส่วนทำให้ลืมผลกระทบในวงกว้าง • มิติสังคมและสิ่งแวดล้อม • ความต้องการของสังคมทำให้ วท. ตอบสนอง แต่มีผลข้างเคียง • สังคมเปลี่ยนแปลงมาตรฐานจริยธรรม • มิติเศรษฐกิจ • ความขัดแย้งด้านทรัพย์สินทางปัญญา • มิติจรรยาบรรณของ วท. • การละเมิดจรรยาบรรณ (การลอกเลียน ปลอมแปลง หลอกขอทุนอุดหนุน ฯลฯ)
Godzilla • The monster came out from its peaceful territory as a consequence of repeated nuclear bomb experiments. • A young scientist found a way to destroy Godzilla • Unfortunately his invention could also be used as a weapon of mass destruction. • To solve the dilemma, he decided to burn all his documents and end his own life by facing Godzilla under water. Can our bio/nano/energy people be as brave?
Has technology created a GODZILLA? or many of THEM?
Future Directions:Towards Good Governance in Biotechnology • More concerns and discussions on bioethics by laypeople and scientists alike. • Voluntary Codes of Conduct on issues involving risks or ethics by scientists, bioindustries, professional societies, etc. (cf. 1973 voluntary moratorium on genetic engineering). • New laws may be enacted, but a good sense of balance is needed.
Future Directions:Towards Good Governance in Biotechnology (cont) • Role of government: • Oversees development and capability strengthening in both technical and social, ethical issues. • Set up regulations and laws as necesssary, making sure of having a healthy balance. • Set up “ESLI impact assessment” for major programmes. • Role of civil societies (NGOs)/scientists • Help to make the public understand issues in various aspects, not just lobby on single issues.
Future Directions:Towards Good Governance in Biotechnology (cont) • Role of education/research institutes • Acquire knowledge and understanding on issues interfacing between technology and society. • Help to generate healthy debates among various stakeholders and the public.
สิ่งที่นักกฏหมายควรทำสิ่งที่นักกฏหมายควรทำ • ติดตามความก้าวหน้าและผลกระทบของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเฉพาะในด้านที่เกี่ยวโยงกับกฏหมาย จริยธรรมและสังคม • ชี้ให้นักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเห็นประเด็นที่เป็นปัญหาด้านกฏหมายของความก้าวหน้าเหล่านี้ • เตือนและแนะนำสังคมให้ตระหนักถึงประเด็นสำคัญ โดยอาจทำร่วมกับนักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • ช่วยให้สถาบันยุติธรรมมีความพร้อมในการพิจารณาข้อกฏหมายและคดีความที่เกี่ยวโยงกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สรุป • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีผลผลิตที่สร้างคุณภาพชีวิต และนำความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ ความเจริญทางสังคม ฯลฯ มากมาย • แต่มักมีผลกระทบเชิงลบในเชิงจริยธรรม สังคม สิ่งแวดล้อมและกฎหมาย ซึ่งบางทีไม่คาดหมายมาก่อน • จึงควรมีแนวทางพิจารณาลดหรือป้องกันผลกระทบเชิงลบ โดยทุกคนมีส่วนร่วม ไม่เพียงนักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเท่านั้น • ควรมีการศึกษาผลกระทบด้านจริยธรรม สังคมและกฎหมาย (ESLI Impact Assessment) ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสร้างเกณฑ์ปฎิบัติให้เกิดธรรมาภิบาล • นักกฏหมายควรติดตามความก้าวหน้าและผลกระทบของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และให้คำแนะนำแก่สังคม
… economics can be substantially enriched by paying more attention to ethics, and …the study of ethics can also benefit from a closer contact with economics. ... เศรษฐศาสตร์จะสมบูรณ์ขึ้นมากหากเอาใจใส่เรื่องจริยธรรมมากขึ้น และ...การศึกษาจริยธรรมก็จะได้ประโยชน์จากการสัมผัสกับเศรษฐศาสตร์มากขึ้น Amartaya Sen Nobel Laureate for Economics
… science and technology can be substantially enriched by paying more attention to ethics, and …the study of ethics can also benefit from a closer contact with science and technology. ... วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะสมบูรณ์ขึ้นมากหากเอาใจใส่เรื่องจริยธรรมมากขึ้น และ...การศึกษาจริยธรรมก็จะได้ประโยชน์จากการสัมผัสกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากขึ้น