1 / 24

ความคาดหวังในทศวรรษที่ ๔

ความคาดหวังในทศวรรษที่ ๔. ในการดำเนินกิจกรรมตำบลจัดการสุขภาพ. อสม.เขาคิชฌกูฏ. สินธุ์ชัย อาจหาญ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี. ความคาดหวังในทศวรรษที่ ๔. ๑ . คาดหวังให้เกิดชุมชนพึ่งตนเองได้ทางสุขภาพ

peta
Download Presentation

ความคาดหวังในทศวรรษที่ ๔

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความคาดหวังในทศวรรษที่ ๔ ในการดำเนินกิจกรรมตำบลจัดการสุขภาพ อสม.เขาคิชฌกูฏ สินธุ์ชัย อาจหาญนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการกลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี

  2. ความคาดหวังในทศวรรษที่ ๔ ๑. คาดหวังให้เกิดชุมชนพึ่งตนเองได้ทางสุขภาพ ๒. มีองค์กรชุมชนที่เข้มแข็ง มีความสามารถในการบริหารจัดการให้เกิด สุขภาวะในชุมชน ๓. ให้มีแผนชุมชนเพื่อเป็นเครื่องมือในการทำงานร่วมกันของภาคีทุกฝ่าย ในการแก้ปัญหาสุขภาพ ๔. มีนวัตกรรมใหม่ๆในการทำงานสาธารณสุขมูลฐาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในระดับชุมชนมีการจัดการความรู้ นวัตกรรมในระดับชุมชน ๕. เกิดทัศนคติและความเข้าใจที่ถูกต้องว่าอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) เป็นของชุมชน ไม่ใช่ของกระทรวงสาธารณสุข รัฐเป็นผู้สนับสนุนให้ อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) และชาวบ้านพึ่งตนเองได้

  3. ความคาดหวังในทศวรรษที่ ๔ (ต่อ) ๖. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแสดงบทบาทหลักในการบริหารจัดการ สนับสนุนงานสาธารณสุขมูลฐาน ๗. อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) มีความเข้มแข็ง คิดเอง ทำเอง พึ่งตนเองได้ ๘. ให้อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) มีคุณภาพ มีเทคนิควิชาการที่จำเป็น ในการแก้ปัญหาของชุมชน มีทักษะทางสังคม มีบทบาทเป็นผู้นำการ เปลี่ยนแปลงและสามารถก่อให้เกิดการเคลื่อนไหวสังคมในระดับ ต่างๆ เพื่อมุ่งสู่สังคมแห่งสุขภาวะได้ ๙. เกิดอาสาสมัครสาธารณสุขที่มีความหลากหลายมากขึ้น พัฒนาการ ไปสู่การเป็นอาสาสมัครเพื่อสังคม

  4. แนวคิดในการทำงานตำบลพลวงปี 2555 • เสริมสร้างศักยภาพ อสม./ชุมชนในการป้องกัน • และเตรียมความพร้อมรองรับการระบาดของ • โรคไข้หวัดนก/ไข้หวัดใหญ่2009 • อบรมฟื้นฟูศักยภาพเฉพาะทางเพื่อทำงานจิตอาสา • พัฒนาศักยภาพ โดย อสม.ดีเด่นของอำเภอ • กองทุนสุขภาพประจำตำบล • หมู่บ้าน/ตำบลจัดการสุขภาพ • แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

  5. ส่งเสริมให้มีการคัดเลือกอสม.ดีเด่นประจำปี 2555 จำนวน 11 สาขา ได้แก่ (1) สาขาการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ (2) สาขาสุขภาพจิตในชุมชน (3) สาขายาเสพติดในชุมชน (4) สาขาการบริการใน ศสมช. (5) สาขาการคุ้มครองผู้บริโภค (6) สาขาการแพทย์แผนไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ (7) สาขาเอดส์ในชุมชน (8) สาขาการส่งเสริมสุขภาพ (9) สาขาการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ (10) สาขาการจัดการสุขภาพชุมชน (11) สาขาอนามัยแม่และเด็ก

  6. รูปแบบและแนวทางดำเนินงานรูปแบบและแนวทางดำเนินงาน ตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลพลวง อำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี โดย โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนตำบลพลวง

  7. เปลี่ยนวิกฤติให้เป็นโอกาสเปลี่ยนวิกฤติให้เป็นโอกาส ในขณะที่ระบบสาธารณสุขมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง มีองค์กรใหม่ๆ ผู้แสดงบทบาทเกิดขึ้นโดยเฉพาะในระดับท้องถิ่นและชุมชน หน่วยงานสาธารณสุขซึ่งเดิมเคยผูกขาดงานด้านนี้ก็ต้องปรับบทบาท ตลอดจนตำแหน่งแห่งที่ของตนในบริบทใหม่ คือ ต้องแข่งขันกับตัวเองเพื่อการพัฒนาและความอยู่รอด นี่คือเหตุผลที่ทุกคนต้องหันมาสนใจกับการสร้าง “นวัตกรรม”

  8. โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน • นวัตกรรม คือ การนำเอาสิ่งใหม่ๆ หรือ การปรับปรุงวิธีการ/กระบวนการใหม่ๆ แล้วนำมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนา ซึ่งจะทำให้การพัฒนามีความแตกต่างจากการที่เคยดำเนินการอยู่ • โรงเรียน คือ สถานที่เรียนรู้ ให้ความรู้ และสอนความรู้ โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน คือ อะไร? • - ชุมชนที่มีการนำสิ่งที่มีอยู่ มาปรับปรุงให้ให้เกิดประโยชน์ ต่อการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยมีการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เป็นเครื่องมือในการพัฒนา จนเกิดผลสำเร็จ และสามารถถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์การพัฒนาให้ชุมชนอื่นๆ ได้เรียนรู้และนำไปขยายผลต่อได้

  9. ใครเป็นผู้สร้างโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนใครเป็นผู้สร้างโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน • ต้องร่วมมือกันหลายกลุ่ม/องค์กร โดย... • ชุมชน เป็นฐานสำคัญและเป็นผู้สร้างโครงการ และมาตรการทางสังคม • อปท. บริหารจัดการและสนับสนุนทรัพยากรในการดำเนินงาน รวมทั้งสร้างมาตรการท้องถิ่น • หน่วยงานสาธารณสุข สนับสนุนการสร้างความร่วมมือ และมาตรการทางวิชาการ • ภาคีเครือข่ายต่างๆ ในชุมชน ร่วมสนับสนุนและดำเนินงาน

  10. หลักสูตร โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนตำบลพลวง • อสม.จิตอาสาที่มาปฏิบัติงาน คลินิกพิเศษ • อบรมความรู้ต่อเนื่อง ในวันประชุมประจำเดือน • การศึกษาขั้นพื้นฐานกับ กศน.ของ อสม.ทุกวันศุกร์ 3 ชั่วโมง • การศึกษาดูงาน / อบรม กับโครงการ สสส. • การจัดการอบรม / จัดกิจกรรมต่าง ๆ ด้านส่งเสริมสุขภาพ • โดยการบูรณาการโครงการให้ อสม.คณะทำงาน โรงเรียนฯ จัด

  11. การสร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์การสร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ 3 ขั้นตอนการสร้าง 3 ขั้นตอนการสร้าง 1 วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์ กำหนดจุดหมายปลายทาง/เป้าประสงค์/กลยุทธ์ 2 สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ และตรวจสอบกับยุทธศาสตร์ 3 สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการและกลุ่มงาน 4 จัดทำแผนกลยุทธ์ / กำหนดตัวชี้วัด 5 6 สร้างแผนปฏิบัติการ (Mini-SLM) 7 เปิดงานและติดตามผล 4 ขั้นตอนการใช้

  12. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วม(กรมอนามัยกับกรมควบคุมโรค) แสดง Road Map (เส้นสีแดง) 1. ประชาชน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2.ชุมชนมีโครงการของชุมชน โดย ชุมชน ประชาชน 3.ชุมชน มีมาตรการทางสังคม 4.ชุมชน มีระบบเฝ้าระวัง ที่มีประสิทธิภาพ 7.อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ภาคี การจัดการนวัตกรรมที่ดี 5.ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ พื้นฐาน 6.บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม

  13. ปฏิบัติการเชิงรุกผ่านแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM)ร่วม (แสดง Road Map (เส้นสีแดง)) ประชาชนปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน์/พฤติกรรม ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ภาคี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม

  14.  เทศบาล  อบจ./อบต.  สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ  สถานีอนามัย,รพ.สต.  ศูนย์สุขภาพชุมชน  โรงพยาบาล,นคม.  แกนนำประชาชน,อสม.  ผู้รับผิดชอบกองทุนสุขภาพ ร่วมสร้าง แผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์

  15. แผนปฏิบัติการ(Micro-SLM) สร้างจากยุทธศาสตร์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับประชาชน (สนับสนุนด้วยการพัฒนากระบวนการและพื้นฐานที่วางไว้ใน SLM) กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยน พฤติกรรม/กระบวนทัศน์ CSF (หัวใจของความสำเร็จ) ดำเนินมาตรการทางสังคม (กิจกรรมสำคัญ) สร้างโครงการชุมชน (กิจกรรมสำคัญ) ใช้ข้อมูล /สื่อสาร/ความรู้(กิจกรรมเสริม) ดำเนินงานคัดกรอง/เฝ้า ระวัง CSF(หัวใจของความสำเร็จ) ประชาชน องค์กรใน / นอกพื้นที่มีบทบาท ภาคี อปท.ขับเคลื่อน สาธารณสุขสนับสนุนวิชาการ/สร้างความร่วมมือ

  16. แผนปฏิบัติการพื้นฐาน(Micro-SLM) สร้างจากยุทธศาสตร์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับประชาชน (สนับสนุนด้วยการพัฒนากระบวนการและพื้นฐานที่วางไว้ใน SLM) กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม ดำเนินมาตรการทางสังคม สร้างโครงการชุมชน ใช้ข้อมูล /สื่อสาร/ความรู้(กิจกรรมเสริม) ดำเนินงานคัดกรอง/ เฝ้าระวัง ประชาชน กิจกรรมเพิ่มทักษะ ภาคี ประชุมตกลงร่วมงานระหว่างสาขา

  17. ใช้กิจกรรมในช่อง 3 เฉพาะระดับประชาชนและภาคี • สร้างแผนปฏิบัติการ • ช่องที่ 1-3 ดำเนินการโดยภาคีระดับกรม/สำนัก/กองและผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่เป้าหมาย • ช่อง 4 ดำเนินการโดยระดับเขตฯ /สสจ.และภาคีที่เกี่ยวข้อง • ช่อง 5-11 ดำเนินการโดยท้องถิ่น/ชุมชน

  18. แผนปฏิบัติการพัฒนาสุขภาพชุมชนตำบลพลวง • ชุมชนพลวง ร่วมมือ ร่วมใจ พิชิตภัยไข้เลือดออก • คนพลวงร่วมใจพิชิตภัยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง • ผู้สูงอายุ ร่มโพธิ์ไทรให้ลูกหลาน ร่วมกันดูแลอย่างห่วงใย แผนปฏิบัติการพัฒนาสุขภาพชุมชนตำบลพลวง แผนปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุ

  19. แผนปฏิบัติการพัฒนาสุขภาพชุมชนสู่โครงการ โครงการ “ผู้สูงอายุ ร่มโพธิ์ไทรให้ลูกหลาน ร่วมกันดูแลอย่างห่วงใย” หลักการและเหตุผล - ตำบลพลวงมีประชากรกว่า 6,000 คน ใน 2,200 หลังคาเรือน - ประมาณ 1,000 คน เป็นผู้สูงอายุ เป็นผู้ป่วยเรื้อรัง 125 คน - ผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่มีภูมิปัญญาที่สามารถสืบทอดวิถีชีวิตได้ - สืบสาน ส่งเสริมวัฒนธรรมเชิดชูผู้สูงอายุเป็นร่มโพธิ์ ร่มไทร

  20. แผนปฏิบัติการพัฒนาสุขภาพชุมชนสู่โครงการ • โครงการ “ผู้สูงอายุ ร่มโพธิ์ไทรให้ลูกหลาน ร่วมกันดูแลอย่างห่วงใย” • วัตถุประสงค์ • ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลสุขภาพของตนเอง • มีโครงการ ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนโดยชุมชน • ชุมชนมีและใช้ระบบเฝ้าระวังสุขภาพผู้สูงอายุ • โรงเรียนนวัตกรรมเป็นแหล่งเรียนรู้วิถีชีวิตพอเพียงของผู้สูงอายุ • ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตาม “ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย ปี๒๕๕๒”

  21. ข้อ 1 ผสอ.ได้รับปัจจัยพื้นฐานได้รับการพิทักษ์ ไม่ถูกทอดทิ้ง ข้อ 2 ผสอ.ได้รับความเคารพรัก ความเข้าใจ ความเอื้ออาทร การดูแลเอาใจใส่ ข้อ 3 ผสอ.ได้รับโอกาสในการศึกษา เรียนรู้ และเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ข้อ 4 ผสอ.ได้ถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์ให้สังคม ข้อ 5 ผสอ.ได้เรียนรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง

  22. ข้อ 6 ผสอ. ควรได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม ครอบครัว ชุมชน สังคม โดยเฉพาะการรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ข้อ 7 รัฐโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน ประชาชน สถาบันสังคมต้องกำหนดนโยบายและแผนด้านผู้สูงอายุ ข้อ 8 รัฐ&เอกชน ประชาชน ร่วมกับสถาบันสังคมต้องตรากฎหมาย ว่าด้วยผู้สูงอายุ ข้อ 9 รัฐ&เอกชน ประชาชน สถาบันสังคม ต้องรณรงค์ปลูกฝัง ค่านิยมให้สังคมตระหนักถึงคุณค่าผู้สูงอายุตามวัฒนธรรมไทย ที่เน้นความกตัญญูกตเวทีและความเอื้ออาทรต่อกัน

  23. แผนปฏิบัติการพัฒนาสุขภาพชุมชนสู่โครงการ โครงการ “ผู้สูงอายุ ร่มโพธิ์ไทรให้ลูกหลาน ร่วมกันดูแลอย่างห่วงใย” เป้าหมาย 10 หมู่บ้าน ในเขตเทศบาลตำบลพลวง โดยมี หมู่ 6 นำร่อง ระยะเวลาดำเนินการ 1 ตุลาคม 2554 – 30 กันยายน 2555 งบประมาณ - กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลพลวง

  24. สวัสดี

More Related