1 / 13

การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน

การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน. อาจารย์กมลวรรณ ศิริจันทร์ชื่น. การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break-even Point Analysis). จุดคุ้มทุน เป็นจุดของการดำเนินงานที่รายได้เท่ากับค่าใช้จ่ายรวม(ต้นทุนผันแปร + ต้นทุนคงที่) หรือ กำไรส่วนเกินรวมเท่ากับค่าใช้จ่ายคงที่.

perrin
Download Presentation

การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน อาจารย์กมลวรรณ ศิริจันทร์ชื่น

  2. การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break-even Point Analysis) • จุดคุ้มทุน เป็นจุดของการดำเนินงานที่รายได้เท่ากับค่าใช้จ่ายรวม(ต้นทุนผันแปร+ต้นทุนคงที่) หรือ กำไรส่วนเกินรวมเท่ากับค่าใช้จ่ายคงที่

  3. จุดคุ้มทุนคือการขายสินค้า 700 หน่วย หากขายได้มากกว่า 700 หน่วย บริษัทจึงจะมีผลกำไรจากการดำเนินงาน • ยอดขายปัจจุบัน 800 หน่วย 200,000 บาท แสดงว่าส่วนเกินที่ปลอดภัยคือ 100 หน่วย หรือ 25,000 บาท • ถ้าขายสินค้าได้ 1,000 หน่วย จะได้กำไรจากการดำเนินงานเท่าไหร่

  4. การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break-even Point Analysis) 1. การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนจากแนวคิดกำไรส่วนเกิน • กำไรส่วนเกิน (Contribution Margin; CM) คือ รายได้ที่ยังคงเหลือเมื่อนำรายได้ของยอดขายหักด้วยต้นทุนผันแปร • กำไรส่วนเกิน= ขาย - ต้นทุนผันแปร หน่วยขาย ณ จุดคุ้มทุน = ต้นทุนคงที่รวม กำไรส่วนเกินต่อหน่วย

  5. ตัวอย่างการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนตัวอย่างการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน • ถ้ากำไรส่วนเกิน 100 บาทต่อหน่วย ต้นทุนคงที่รวม 70,000 บาท • วิเคราะห์จุดคุ้มทุนโดยใช้สูตรกำไรส่วนเกิน หน่วยขาย ณ จุดคุ้มทุน = 70,000 100 = 700 หน่วย

  6. 2.การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนโดยวิธีแผนภาพ2.การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนโดยวิธีแผนภาพ จำนวนเงิน(บาท) เส้นยอดขาย พื้นที่ส่วนกำไร 200,000 เส้นต้นทุนรวม 190,000 175,000 160,000 120,000 80,000 40,000 พื้นที่ส่วนขาดทุน จำนวนหน่วย 200 400 600 800 1,000 1,200 ต้นทุนคงที่ 70,000 บาท 700

  7. การวิเคราะห์เป้าหมายของกำไรที่ต้องการ (Target Profit Analysis) 1. ไม่คำนึงถึงผลกระทบทางด้านภาษี (กำไรก่อนภาษี) – จากสมการแนวคิดกำไรส่วนเกิน ยอดขาย = ต้นทุนผันแปร + ต้นทุนคงที่ + กำไรก่อนภาษี S = VC + FC + EBT PX = VX + FC + EBT PX – VX = FC + EBT X = FC + EBT (P – V)

  8. ตัวอย่างการวิเคราะห์เป้าหมายของกำไรที่ต้องการ โดยไม่คำนึงผลกระทบทางด้านภาษี ขายสินค้าราคาหน่วยละ 250 บาท ต้นทุนผันแปรหน่วยละ 150 บาท ต้นทุนคงที่ 70,000 บาท กรณีกำหนดกำไรเป็นจำนวนเงินที่แน่นอน ต้องการกำไรก่อนภาษี 20,000 บาท X = FC + EBT (P – V) = 70,000 + 20,000 (250-150) = 90,000 100 = 900 หน่วย

  9. การวิเคราะห์เป้าหมายของกำไรที่ต้องการ (Target Profit Analysis) 2. คำนึงถึงผลกระทบทางด้านภาษี แบ่งได้ 2 กรณี 2.1 กรณีกำหนดกำไรเป็นจำนวนเงินที่แน่นอน ยอดขาย = ต้นทุนผันแปร + ต้นทุนคงที่ + กำไรสุทธิหลังภาษี S = VC + FC + PX = VX + FC + PX – VX = FC + X = FC + (P – V) NI 1 - T NI 1 - T NI 1 - T NI 1 - T

  10. ขายสินค้าราคาหน่วยละ 250 บาท ต้นทุนผันแปรหน่วยละ 150 บาท ต้นทุนคงที่ 70,000 บาท ตัวอย่างการวิเคราะห์เป้าหมายของกำไรที่ต้องการ โดยคำนึงผลกระทบทางด้านภาษี กรณีกำหนดกำไรเป็นจำนวนเงินที่แน่นอน ต้องการกำไรสุทธิหลังภาษี 28,000 บาท อัตราภาษีเงินได้ 30% NI 1 - T X = FC + (P – V) = 70,000 + (250 – 150) = 70,000 + 40,000 100 = 1,100 หน่วย 28,000 1 – 0.30

  11. การวิเคราะห์ส่วนผสมการขายและจุดคุ้มทุนการวิเคราะห์ส่วนผสมการขายและจุดคุ้มทุน 1. หาสัดส่วนการขายสินค้าแต่ละชนิด 2. หากำไรส่วนเกินต่อส่วนผสมการขาย กำไรส่วนเกิน x สัดส่วนการขาย 3. หาจุดคุ้มทุนของส่วนผสมการขาย ปริมาณ ณ จุดคุ้มทุน = ต้นทุนคงที่รวม กำไรส่วนเกินต่อส่วนผสมการขาย 4. หาจำนวนสินค้าแต่ละชนิดที่ต้องการขายตามสัดส่วนการขาย ปริมาณ ณ จุดคุ้มทุน x สัดส่วนการขาย

  12. นโยบายราคา • ปัจจุบันราคาขาย 250 บาทต่อหน่วย กำไรส่วนเกิน 100 บาท ขายสินค้าได้ 800 หน่วย มีนโยบายลดราคาลง 30 บาทต่อหน่วย ซึ่งจะทำให้ปริมาณขายสินค้าเพิ่มขึ้น 50% ควรดำเนินการตามนโยบายหรือไม่ กำไรส่วนเกินเดิม 100 บาทต่อหน่วย หัก ราคาขายลดลง 30 บาทต่อหน่วย กำไรส่วนเกินใหม่ 70 บาทต่อหน่วย ยอดขายเพิ่มขึ้น (800+(800x50%)) 1,200 หน่วย ดังนั้น กำไรส่วนเกินใหม่ (1,200x70) 84,000 บาท กำไรส่วนเกินเดิม (800x100) 80,000 บาท กำไรส่วนเกินที่เพิ่มขึ้น4,000บาท

  13. จบการนำเสนอ

More Related