730 likes | 939 Views
แนวคิดเกี่ยวกับข้อมูลและข้อสนเทศ. ข้อมูล. ข้อเท็จจริงที่รวบรวมได้ ข้อเท็จจริงนี้อาจจะเกี่ยวข้องกับวัตถุ เหตุการณ์ สิ่งของ คน หรือสิ่งอื่นๆ. สารสนเทศ. ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลข้อมูล สามารถที่จะสื่อความหมายตามที่ผู้ใช้ สารสนเทศต้องการ. การประมวลผลข้อมูล. ข้อมูล ข้อสนเทศ การประมวลผล.
E N D
แนวคิดเกี่ยวกับข้อมูลและข้อสนเทศแนวคิดเกี่ยวกับข้อมูลและข้อสนเทศ
ข้อมูล • ข้อเท็จจริงที่รวบรวมได้ • ข้อเท็จจริงนี้อาจจะเกี่ยวข้องกับวัตถุ เหตุการณ์ สิ่งของ คน หรือสิ่งอื่นๆ
สารสนเทศ • ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลข้อมูล • สามารถที่จะสื่อความหมายตามที่ผู้ใช้ สารสนเทศต้องการ
การประมวลผลข้อมูล • ข้อมูล • ข้อสนเทศ • การประมวลผล ข้อมูล การประมวลผล ข้อสนเทศ
ประเภทของข้อมูล • ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) • ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)
ประเภทของข้อมูล • ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) หมายถึง • ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง • ได้จากการ สอบถาม สัมภาษณ์ สำรวจ และการจดบันทึก • ซึ่งผู้ต้องการใช้ข้อมูลอาจเก็บรวบรวมเอง
ประเภทของข้อมูล • ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) หมายถึง • ข้อมูลที่ได้จากข้อมูลหรือสารสนเทศที่มีการเก็บรวบรวมไว้แล้ว • ซึ่งผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องออกจดบันทึกหรือรวบรวมเอง เช่น สถิติประชากรในจังหวัด สถิติจำนวนนักเรียนในสถาบันการศึกษา
ข้อมูลที่ใช้ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ข้อมูลที่ใช้ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ • แบ่งได้เป็น 2 ประเภท • ข้อมูลแบบตัวเลข (Numerical Data) • ข้อมูลแบบไม่ใช่ตัวเลข(Non-Numerical Data)
ข้อมูลที่ใช้ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ข้อมูลที่ใช้ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ • ข้อมูลแบบตัวเลข (Numerical Data) • ข้อมูลจำนวนเป็นข้อมูลที่ประกอบด้วย ตัวเลขล้วนๆ • หรือตัวเลขจำนวนเต็ม และจุดทศนิยม • การประมวลผลสามารถใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์
ข้อมูลที่ใช้ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ข้อมูลที่ใช้ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ • เช่น การบวก การลบ การคูณ การหาร • ข้อมูลประเภทนี้จะมีเครื่องหมายบวก หรือลบ กำกับอยู่ด้วย • ข้อมูลแบบตัวเลขสามารถแบ่งได้เป็น เลขจำนวนเต็ม กับเลขจำนวนจริง
ข้อมูลที่ใช้ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ข้อมูลที่ใช้ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ • ข้อมูลแบบไม่ใช่ตัวเลข(Non-Numerical Data) • ข้อมูลประเภทนี้มักเป็นข้อความหรือตัวอักขระต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นข้อมูล • การประมวลผลจะใช้วิธีการทางคณิตสาสตร์ไม่ได้ เป็นการจัดพิมพ์ จัดเรียงลำดับ เป็นต้น • ข้อมูลประเภทนี้มักจะประกอบด้วยตัวอักษร
ข้อมูลที่ใช้ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ข้อมูลที่ใช้ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ • เครื่องหมายต่างๆ หรือตัวเลข เช่น ข้อมูลชื่อ และที่อยู่ เป็นต้น • อาจเป็นตัวเลขล้วนๆ ก็ได้ ถ้าข้อมูลดังกล่าวไม่นำไปใช้ในการคำนวณ หรือหาค่าต่างๆ เช่น หมายเลขโทรศัพท์ เป็นต้น
ความหมายของระบบ • ระบบ (System) คือ • ชุดขององค์ประกอบซึ่งมีปฏิสัมพันธ์(interact) ต่อกันในรูปของความเป็นหนึ่งเดียว • ดำเนินงานร่วมกันไปสู่เป้าหมาย(Goal)เดียวกัน
องค์ประกอบสำคัญของระบบมี 4 ประการ • 1. ข้อมูลนำเข้า (Input) • 2. กระบวนการประมวลผล(Process) • 3. ผลลัพธ์(Output) • 4. การควบคุมการย้อนกลับ(Feedback)ของกระบวนการ
องค์ประกอบสำคัญของระบบมี 4 ประการ • 1. ข้อมูลนำเข้า (Input) • สิ่งใดๆ ที่นำเข้าสู่ระบบ • ระบบหนึ่งๆ อาจมีข้อมูลนำเข้าหนึ่งข้อมูล หรือ หลายข้อมูลก็ได้
องค์ประกอบสำคัญของระบบมี 4 ประการ • 2. กระบวนการประมวลผล(Process) • การเปลี่ยนข้อมูลนำเข้าให้เป็นผลลัพธ์
องค์ประกอบสำคัญของระบบมี 4 ประการ • 3. ผลลัพธ์(Output) • สิ่งใดๆ ที่เป็นผลมาจากระบบ • ผลลัพธ์เป็นเป้าหมายของระบบ • เป็นวัตถุประสงค์ที่ระบบมีอยู่ • ผลลัพธ์ของระบบหนึ่งอาจมาเป็นข้อมูลนำเข้าของอีกระบบหนึ่งก็ได้
องค์ประกอบสำคัญของระบบมี 4 ประการ • 4. การควบคุมการย้อนกลับ(Feedback) • การนำเอาส่วนใด ส่วนหนึ่งของผลลัพธ์ย้อนกลับเข้าสู่ระบบ • โดยใช้เป็นข้อมูลนำเข้าอีกทีหนึ่ง • การย้อนกลับมักจะนำมาใช้ในการควบคุมกลไกภายในระบบ
องค์ประกอบสำคัญของระบบมี 4 ประการ • 4. การควบคุมการย้อนกลับ(Feedback) • เพื่อให้วิธีการปฏิบัติงานของระบบดำเนินไปสู่เป้าหมายที่กำหนดไว้
ความหมายของระบบสารสนเทศความหมายของระบบสารสนเทศ • ระบบสารสนเทศ(Information System) คือ • ชุดของข้อมูลและวิธีการซึ่งทำร่วมกัน • เพื่อสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ในการจัดการสารสนเทศ
การจัดการสารสนเทศ (Information Management) • 1. การรวบรวมข้อมูล • 2. การประมวลผลข้อมูลเพื่อให้เป็นสารสนเทศที่เชื่อถือได้ ถูกต้องและใช้ประโยชน์ได้ • 3. การนำเอาสารสนเทศที่ได้ไปใช้ตัดสินใจ แก้ไขปัญหา และการควบคุมข้อมูลและวิธีการ
การจัดการสารสนเทศ (Information Management) • 4. วิธีปฏิบัติ (Procedure) • การบอกลู่ทางให้คนรู้ว่าจะควบคุมสารสนเทศนี้อย่างไรใช้ระบบนี้อย่างไร • อธิบายขั้นตอนการทำงานเมื่อเกิดความผิดพลาด • แหล่งข้อมูลของวิธีปฏิบัติการได้แก่ คู่มือปฏิบัติการ
หน้าที่ของระบบสารสนเทศหน้าที่ของระบบสารสนเทศ • หน้าที่ขั้นพื้นฐาน 3 ประการ • 1. รับข้อมูล (Input) • 2. แปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ(Process) • 3. สร้างผลลัพธ์ และสื่อความหมายของสารสนเทศ (Output) ด้วยความรวดเร็ว ให้ผู้ใช้ประกอบการตัดสินใจ
โครงสร้างของข้อมูลเบื้องต้นโครงสร้างของข้อมูลเบื้องต้น • โครงสร้างข้อมูล หมายถึง • รูปแบบ หรือวิธีการในการจัดเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูล(Database) เพื่อสะดวกแก่การใช้งาน ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้
โครงสร้างของข้อมูลเบื้องต้นโครงสร้างของข้อมูลเบื้องต้น • บิต (Binary digit:BIT) • ไบต์ (Byte) • หน่วยข้อมูลหรือรายการข้อมูล(Data item) • เขตข้อมูล (Field) • ระเบียนข้อมูล (Record) • ไฟล์ข้อมูลหรือแฟ้มข้อมูล (File) • ฐานข้อมูล (Database)
โครงสร้างของข้อมูลเบื้องต้นโครงสร้างของข้อมูลเบื้องต้น • บิต (Binary digit:BIT) : เลขฐานสองใช้แทนข้อมูล 0,1 • ไบต์(Byte) : กลุ่มของบิตแทนหนึ่งตัวอักษร เช่น A=11000001
โครงสร้างของข้อมูลเบื้องต้นโครงสร้างของข้อมูลเบื้องต้น • หน่วยข้อมูลหรือรายการข้อมูล(Data item) : ประกอบด้วยตัวอักษรและตัวอักขระพิเศษจะมีความหมายหรือไม่มีความหมายในตัวก็ได้ อักขระแบ่งเป็น 3 กลุ่มดังนี้ 1. กลุ่มตัวเลข 2. กลุ่มตัวอักษร 3. กลุ่มของสัญลักษณ์พิเศษ
โครงสร้างของข้อมูลเบื้องต้นโครงสร้างของข้อมูลเบื้องต้น • เขตข้อมูล (Field) : เป็นการนำเอาหน่วยข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน และก่อให้เกิดความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ชื่อ-นามสกุล เลขที่บ้าน ถนน จังหวัด
โครงสร้างของข้อมูลเบื้องต้นโครงสร้างของข้อมูลเบื้องต้น • ระเบียนข้อมูล (Record) : การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์ที่มีความสัมพันธ์กัน หรือเกี่ยวข้องกันมารวมกัน เช่น ชื่อ-นามสกุล เลขที่บ้าน ถนน จังหวัด ของบุคคลเดียวกันรวมเป็นหนึ่งระเบียน หรือเรคคอร์ด
โครงสร้างของข้อมูลเบื้องต้นโครงสร้างของข้อมูลเบื้องต้น • ไฟล์หรือแฟ้มข้อมูล (File) : ที่เก็บรวบรวมระเบียนต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กันมาใช้งานร่วมกัน โดยทั่วไปแฟ้มข้อมูลมี 2 ชนิด 1. Master file 2. Transaction file
โครงสร้างของข้อมูลเบื้องต้นโครงสร้างของข้อมูลเบื้องต้น • 1. Master file : แฟ้มข้อมูลหลัก • แฟ้มข้อมูลตั้งแต่แรกเริ่มเก็บไว้อย่างถาวร • ข้อมูลที่เก็บอาจเปลี่ยนแปลงได้ เพื่อความถูกต้องและทันสมัย
โครงสร้างของข้อมูลเบื้องต้นโครงสร้างของข้อมูลเบื้องต้น • 2. Transaction file : แฟ้มข้อมูลงาน • เก็บข้อมูลบางอย่างที่สัมพันธ์กับแฟ้มหลัก • รวบรวมการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลบางอย่างของแฟ้มหลัก ไม่เก็บข้อมูลอย่างถาวร • เมื่อผ่านการประมวลผลหรือปรับปรุงแล้วอาจยกเลิกหรือทึ้งไป
ภาพแสดงโครงสร้างของข้อมูลเบื้องต้นภาพแสดงโครงสร้างของข้อมูลเบื้องต้น DATABASE DATA FILE 1 DATA FILE 2 DATA FILE 3 ……………. RECORD 1 RECORD 2 RECORD 3 ……………. FIELD 1 FIELD 1 FIELD 1 ……………. DATA ITEM 1 DATA ITEM 2 DATA ITEM 3 …………….
แฟ้มข้อมูล(File) • แฟ้มข้อมูลในคอมพิวเตอร์ : จะบันทึกรายละเอียดบางอย่างของเรื่องเดียวกันลงไป • เช่นแฟ้มข้อมูลบุคลากรจะเก็บข้อมูลพื้นฐานของบุคลากรทุกคนไว้ในแฟ้ม • โดยแยกเป็นระเบียน (Record) ละคน
แฟ้มข้อมูล(File) • แฟ้มข้อมูลเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ • เช่น งานเอกสาร งานจัดทำงบประมาณ เป็นต้น
ฐานข้อมูล • แหล่งรวมของข้อมูลหรือ แฟ้มข้อมูลต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กัน เก็บอยู่ในที่เดียวกัน • เพื่อประยุกต์ใช้ในหลายๆ งานที่จำเป็นต้องใช้ข้อมูลร่วมกัน • และลดความซับซ้อนกันของข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล • เป็นการรวมเอาฐานข้อมูลหลายๆ ฐานข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกันมารวมกันเป็นระบบเดียวกัน • เช่น ระบบฐานข้อมูลของโรงแรมก็จะประกอบด้วย ฐานข้อมูลลูกค้า, ฐานข้อมูลบุคลากร, ฐานข้อมูลห้องพัก เป็นต้น
ระบบการจัดการฐานข้อมูล (DBMS) • ความหมายของระบบการจัดการฐานข้อมูล • เป็น S/W ที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล • สามารถเรียกใช้ฐานข้อมูลโดยใช้ภาษาที่ใช้สอบถามข้อมูล SQL : Structure Query Language • โดยจะมี Data Dictionary :
ระบบการจัดการฐานข้อมูล (DBMS) • Data Dictionary : • เป็นแหล่งที่เก็บโครงสร้างของข้อมูลในระบบ • เช่น ชนิดและ ขนาดของข้อมูล ความสัมพันธ์ของข้อมูลกับข้อมูลอื่น รวมทั้งรายนามของผู้มีสิทธิใช้ข้อมูล เป็นต้น
ระบบการจัดการฐานข้อมูล (DBMS) • ในการเรียกใช้ข้อมูล DBMS จะใช้พจนานุกรมเป็นแนวทางในการจัดการ • เช่น ถ้าเพิ่มฟิลด์จะตรวจสอบว่า มีฟิลด์นั้นอยู่ในระบบแล้ว หรือยัง • DBMS ได้แก่ MS-Access , FoxPro เป็นต้น
ระบบการจัดการฐานข้อมูล (DBMS) • Schema หรือ Dictionary ของฐานข้อมูล • เป็นคำอธิบายรายละเอียดของข้อมูลที่เก็บอยู่ในฐานข้อมูล • อธิบายชนิดของข้อมูลที่เก็บแต่ละแฟ้ม ความยาวข้อมูล ชื่อข้อมูล เป็นต้น
ระบบการจัดการฐานข้อมูล (DBMS) • Schema ถูกเขียนโดยภาษาที่เรียกว่า DDL : Data Definition Language • อีกภาษาของฐานข้อมูลเรียกว่า DML : Data Manipulation Language • เป็นภาษาที่ใช้ในการจัดการกับฐานข้อมูล
ระบบการจัดการฐานข้อมูล(DBMS)ระบบการจัดการฐานข้อมูล(DBMS) • เช่น ดึงข้อมูลมาใช้ในโปรแกรม การปรับปรุงเปลี่ยนแปลง เพิ่มลบ ข้อมูลในฐานข้อมูล • DBMS ควบคุมระบบรักษาความปลอดภัย และความถูกต้องของข้อมูล
ข้อดีและข้อเสียของแฟ้มข้อมูลข้อดีและข้อเสียของแฟ้มข้อมูล • ข้อดี • ทำงานได้รวดเร็ว • ค่าลงทุนเบื้องต้นต่ำ • แต่ละ application สามารถควบคุมข้อมูลของ ตนเองได้
ข้อดีและข้อเสียของแฟ้มข้อมูลข้อดีและข้อเสียของแฟ้มข้อมูล • ข้อเสีย • ข้อมูลมีความซ้ำซ้อน • ค่าใช้จ่ายบำรุงรักษาภายหลังสูง • ทำรายงานจากหลายแฟ้มข้อมูลจะทำได้ช้าและ ยุ่งยาก • ต้องให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ ซึ่งยุ่งยาก ต้องจัดการเองหมด
ข้อดีและข้อเสียระบบฐานข้อมูลข้อดีและข้อเสียระบบฐานข้อมูล • ข้อดี • ข้อมูลไม่ซ้ำซ้อน • ถ้ามี DBMS จะช่วยในการจัดการฐานข้อมูล • DABMS จะแพงในตอนแรกแต่คุ้มค่า • จะมี DBA คอยดูแล • มี SQL ช่วยดึงข้อมูลในฐานข้อมูล • ใช้ข้อมูลร่วมกันได้ • เพิ่มความถูกต้องให้กับข้อมูลที่เก็บ
ข้อดีและข้อเสียระบบฐานข้อมูลข้อดีและข้อเสียระบบฐานข้อมูล • ข้อเสีย • เก็บรักษาอยู่ที่เดียวมีความเสี่ยงสูง • เหมาะกับเครื่องที่มีขนาดใหญ่ • DBA คนเดียวที่รู้โครงสร้างและรายละเอียด • ของฐานข้อมูลค่อนข้างอันตราย • ต้นทุนสูง
หลักการประมวลผลข้อมูลหลักการประมวลผลข้อมูล • 1. การรวบรวมข้อมูล(Data collection) • 2. การจัดการข้อมูล (Data Management) • 2.1 การจำแนกประเภท • 2.2 การเรียงลำดับ • 2.3 การคำนวณ • 2.4 การสรุปผล
หลักการประมวลผลข้อมูลหลักการประมวลผลข้อมูล • 3. การจัดการผลลัพธ์ • 3.1 การจัดเก็บข้อมูล • 3.2 การสื่อสารข้อมูล