1 / 49

การดำเนินการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด

การดำเนินการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด. ศูนย์ประสานงานโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ. Polio Eradication Project. ความเป็นมา. พ.ศ. 2531 ลงนามในสัญญาความร่วมมือ กวาดล้างโปลิโอ

peers
Download Presentation

การดำเนินการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดำเนินการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัดการดำเนินการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ศูนย์ประสานงานโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ

  2. Polio Eradication Project ความเป็นมา พ.ศ. 2531 ลงนามในสัญญาความร่วมมือกวาดล้างโปลิโอ พ.ศ. 2535เริ่มระบบเฝ้าระวัง ผู้ป่วยที่มีอาการอัมพาตกล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียกอย่างเฉียบพลัน (Acute Flaccid Paralysis) พ.ศ. 2537เริ่มรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอทั่วประเทศประจำปี ซึ่งต่อมาลดเป้าหมายลงเหลือเฉพาะกลุ่มเสี่ยง พ.ศ. 2540รายงานผู้ป่วยโปลิโอรายสุดท้าย พ.ศ. 2547องค์การอนามัยโลกเข้าตรวจสอบการดำเนินงานกวาดล้างโปลิโอในประเทศไทย ผลเป็นที่น่าพอใจ

  3. Polio case and OPV3 coverage, Thailand, 1961 - 2011 OPV in EPI in 1977 The last case 1997 NID 1994 sNID 2000

  4. พ.ศ. 2553 กระทรวงสาธารณสุขตกลงเห็นด้วยกับข้อเสนอการกำจัดโรคหัด ซึ่งเป็นหัวข้อปรึกษาหารือร่วมกับประเทศอื่นในภูมิภาคในการประชุม World Health Assembly 2010 กระทรวงสาธารณสุข อนุมัติแผนดำเนินโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด พ.ศ. 2553-2563 และให้กรมควบคุมโรคเป็นหน่วยงานประสานงาน มีกรมต่างๆ ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมการแพทย์ และสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

  5. วัตถุประสงค์การดำเนินการวัตถุประสงค์การดำเนินการ รักษาสถานะปลอดโรคโปลิโอในประเทศไทย ลดอุบัติการณ์การเกิดโรคหัดในประเทศไทยลงเหลือไม่เกิน 1 รายต่อประชากรหนึ่งล้านคนในปี 2563 (ไม่เกิน 5 รายต่อประชากรหนึ่งล้านในปี 2558) 1 2

  6. กลวิธีการดำเนินงานกวาดล้างโปลิโอกลวิธีการดำเนินงานกวาดล้างโปลิโอ ให้วัคซีนโปลิโอตามระบบปกติอย่างน้อย 3 ครั้ง ในเด็กอายุครบ 1 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในทุกตำบล เฝ้าระวังค้นหาผู้ป่วย AFPไม่น้อยกว่า 2 ต่อแสนประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี รายจังหวัด และเก็บอุจจาระส่งตรวจตามเกณฑ์ 14 วันหลังวันเกิดอาการอัมพาต สอบสวนและควบคุมโรคผู้ป่วย AFP กลุ่มเสี่ยงสูงตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (สอบสวนทุกรายภายใน 48 ชั่วโมง และควบคุมโรคในรายที่กำหนดภายใน 72 ชั่วโมงหลังพบผู้ป่วย) รณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอแก่เด็กในพื้นที่เสี่ยง ความครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในตำบลที่ดำเนินการ 1 2 3 4

  7. Non-polio AFP rate 2007 - 2012 273 (2.12) 261 (1.97) 226 (1.67) 250 (1.94) 208 (1.59) 88 (0.67) 2012 (to May)

  8. Non-polio AFP rate by province 2011 - 2012 AFP rate ≥ 2/100,000 (9 provinces) AFP rate ≥ 2/100,000 (31 provinces) AFP rate 1-1.99/100,000 (13 provinces) AFP rate 1-1.99/100,000 (22 provinces) AFP rate < 1/100,000 (25 provinces) AFP rate < 1/100,000 (14 provinces) No AFP reported (29 provinces) No AFP reported (9 provinces)

  9. ร้อยละของผู้ป่วย AFP ที่เก็บตัวอย่างอุจจาระถูกต้อง เพื่อตรวจยืนยันเชื้อไวรัสโปลิโอ 2007 - 2012 %

  10. การรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอเสริม (sNID)พ.ศ. 2555-6

  11. การรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอประจำปี 2555-6 เพื่อให้วัคซีนโปลิโอในกลุ่มเป้าหมายเด็กไทยและเด็กต่างชาติที่มักจะได้รับวัคซีนไม่ครบและเสี่ยงต่อการรับเชื้อโปลิโอที่อาจนำเข้ามาจากประเทศที่ยังมีเชื้อโปลิโอระบาดอยู่กลับเข้ามาได้ วัตถุประสงค์ กลุ่มเสี่ยง =เด็กที่ไม่เคยได้รับวัคซีน หรือได้รับวัคซีน ไม่ครบถ้วน (อย่างน้อย 3 ครั้ง) ประชากรที่รณรงค์ - เด็กไทย อายุต่ำกว่า 5 ปี และ - เด็กต่างชาติอายุต่ำกว่า 15 ปี ที่เป็นแรงงาน หรือ อยู่ในค่ายอพยพ

  12. กลุ่มเป้าหมายในการรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ 2555-6 ประเภทที่ 1 เด็กที่อาศัยอยู่ในพื้นที่พิเศษมีความยากลำบากในการให้วัคซีนตามแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในระบบปกติ หรือ มีการการเคลื่อนย้ายประชากรสูง ประเภทที่ 2 เด็กที่อาศัยอยู่ในอำเภอที่ติดชายแดนพม่า ประเภทที่ 3เด็กที่อาศัยอยู่ในอำเภอที่มีชุมชนชาวพม่าขนาดใหญ่ ประเภทที่ 4เด็กที่อาศัยอยู่ในอำเภอที่มีรายงานการเกิดโรคคอตีบ หรือ หัด โดยพิจารณาผู้ป่วย เฉพาะในกลุ่มอายุต่ำกว่า 5 ปี รายอำเภอ ใช้ข้อมูล 3 ปี ย้อนหลัง (พ.ศ. 2552-2554) ถ้าพบผู้ป่วยคอตีบตั้งแต่ 1 รายขึ้นไป หรือผู้ป่วยหัดตั้งแต่ 10 รายขึ้นไป ในปีใด ปีหนึ่ง ถือเป็นดัชนีชี้วัดปัญหาความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน ในพื้นที่

  13. รณรงค์เต็มพื้นที่ รณรงค์บางอำเภอ ไม่มีพื้นที่รณรงค์ พื้นที่รณรงค์ให้วัคซีนเสริม (sNID) ปี 2554-5 ปี 2555-6 ครั้งที่ 1 วันพุธ ที่ 14 ธันวาคม 2554 ครั้งที่ 2 วันพุธ ที่ 18 มกราคม 2555 ครั้งที่ 1 วันพุธ ที่ ...... ครั้งที่ 2 วันพุธ ที่ ...... ลดลง : สระบุรี สระแก้ว เพิ่มขึ้น : กระบี่ พื้นที่รณรงค์ 36 จังหวัด + กทม. (153 อำเภอ + 50 เขต) พื้นที่รณรงค์ 35 จังหวัด + กทม. (145 อำเภอ + 50 เขต)

  14. พื้นที่เป้าหมายในการรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ พ.ศ. 2555-6

  15. พื้นที่เป้าหมายในการรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ พ.ศ. 2555-6

  16. พื้นที่เป้าหมายในการรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ พ.ศ. 2555-6

  17. พื้นที่เป้าหมายในการรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ พ.ศ. 2555-6

  18. พื้นที่เป้าหมายในการรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ พ.ศ. 2555-6

  19. พื้นที่เป้าหมายในการรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ พ.ศ. 2555-6

  20. พื้นที่เป้าหมายในการรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ พ.ศ. 2555-6

  21. พื้นที่เป้าหมายในการรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ พ.ศ. 2555-6

  22. พื้นที่เป้าหมายในการรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ พ.ศ. 2555-6

  23. การกำจัดโรคหัด เพิ่มและรักษาระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนหัด ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในทุกพื้นที่ จัดตั้งเครือข่ายการตรวจเชื้อหัดทางห้องปฏิบัติการที่ได้รับการรับรองมาตรฐานทั่วประเทศ เฝ้าระวังผู้ป่วยโรคหัด โดยมีการตรวจยืนยันเชื้อก่อโรคทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วยที่สงสัยโรคหัด ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ในทุกพื้นที่ รณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด หรือมาตรการเสริมอื่น เช่น การบริการวัคซีน ในประชากรวัยทำงาน เพื่อเพิ่มระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในประชากรกลุ่มเสี่ยง 1 2 3 4

  24. ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี และหญิงมีครรภ์ พ.ศ. 2542, 2546, 2551 Vaccine 2542 2546 2551 BCG 98 99 100 DTP3 97 98 99 OPV3 97 98 99 HB3 95 96 98 Measles 94 96 98 JE2 84 87 95 JE3 - 62 89 DTP4 90 93 97 DTP5 - 54 79 T2 (or booster) 90 93 93 กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  25. จำนวนผู้ป่วยโรคหัดในประเทศไทย พศ.2514 – 2554 ก่อนเริ่มโครงการกำจัดโรคหัด วินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการร้อยละ 2 เริ่มให้ M เด็ก 9-12 เดือน เริ่มให้ M นักเรียน ป.1 ให้ MMR แทน M ในนักเรียน ป.1 จำนวนผู้ป่วย ข้อมูลเฝ้าระวังโรค รง 506

  26. สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  27. ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ • มีรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัดไม่น้อยกว่า 2 ต่อประชากรแสนคน ระดับประเทศ • มีการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายภายใน 48 ชั่วโมง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยที่รายงานเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง • มีการตรวจ measles IgMไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเฉพาะราย • มีการส่งตรวจ วิเคราะห์สายพันธุ์ไวรัสไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเหตุการณ์การระบาด

  28. ระบบเฝ้าระวังโรคหัดของประเทศไทยในปัจจุบันระบบเฝ้าระวังโรคหัดของประเทศไทยในปัจจุบัน การรายงานและสอบสวนผู้ป่วยให้ได้ตามโครงการกำจัดโรคหัด ต้องไม่รอรายงานจาก ICD10!!!

  29. นิยามผู้ป่วย 1. เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria) • มีไข้> 38 ํC และมีผื่นนูนแดงขึ้นขณะยังมีไข้พร้อมทั้งมีอาการไอ(Cough) ร่วมกับอาการอื่นๆ อีกอย่างน้อยหนึ่งอาการ ดังต่อไปนี้ • มีน้ำมูก (Coryza) • เยื่อบุตาแดง (Conjunctivitis) • ตรวจพบ Koplik's spot 1-2 วันก่อนและหลังผื่นขึ้น

  30. นิยามผู้ป่วย 2. เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Criteria) 2.1. Serology test - Measles IgMให้ผลบวก 2.2. Viral isolation - เพาะเชื้อจากสารคัดหลั่งทางเดินหายใจ โดย Throat swab culture หรือ Nasal swab culture

  31. ประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยสงสัย (Suspected case)หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก หรือ แพทย์วินิจฉัยโรคหัด ผู้ป่วยเข้าข่าย (Probable case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก ร่วมกับมีข้อมูลทางระบาดวิทยาเชื่อมโยงกับผู้ป่วยยืนยัน ผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case)หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก และ มีผลบวกทางห้องปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง

  32. นิยามผู้สัมผัสใกล้ชิดนิยามผู้สัมผัสใกล้ชิด • ผู้สัมผัสร่วมบ้าน • ผู้ร่วมงาน หรือ ร่วมห้องเรียน ที่ต้องอยู่ในห้องเดียวกันเป็นประจำ • ผู้ที่มีประวัติคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วย ในระยะ 7 วันก่อนวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย เช่น แฟน เพื่อนสนิท

  33. การรายงานผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวังเพื่อการกำจัดโรคหัดการรายงานผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวังเพื่อการกำจัดโรคหัด ให้รายงานตั้งแต่ผู้ป่วยสงสัย พร้อมทั้งเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ในผู้ป่วยสงสัยทุกรายที่มาโรงพยาบาล

  34. ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายที่มา รพ. (1)

  35. ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายที่มา รพ. (2) www.boe.moph.go.th www.boe.moph.go.th

  36. การสอบสวนโรค • การสอบสวนเหตุการณ์การระบาด (outbreak investigation) กรณีที่เกิดโรคเป็นกลุ่มก้อน ให้รีบทำการสอบสวนการระบาดทันทีโดย - ใช้แบบสอบสวนโรคเฉพาะราย (ME1 form) หรือทะเบียนผู้ป่วยในการสอบสวนเหตุการณ์การระบาดของโรคหัด (ME2 form) - เก็บสิ่งส่งตรวจในผู้ป่วยสงสัย ได้แก่ Measles IgMประมาณ 10 – 20 ตัวอย่าง ของผู้ป่วยสงสัยในเหตุการณ์ - สุ่มตัวอย่าง Throat / Nasal swab จำนวนไม่เกิน 5 ตัวอย่างเพื่อส่งตรวจ Genotype ของไวรัสโรคหัด ด้วยวิธี PCR เพื่อยืนยันเชื้อก่อโรคและสายพันธุ์ หาที่มาของการระบาดและควบคุมโรค

  37. เกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคในพื้นที่เกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคในพื้นที่ • มีผู้ป่วยสงสัยโรคหัดเป็นกลุ่มก้อน • เมื่อสอบสวนผู้ป่วย Index case แล้วพบว่าผู้สัมผัสใกล้ชิดมี อาการป่วยสงสัยโรคหัดร่วมด้วย • ผู้ป่วย Index case มีผลการตรวจMeasles IgMให้ผลบวก • ผู้ป่วย Index case มาจากพื้นที่ที่ความครอบคลุมของวัคซีนต่ำ ได้แก่ - Measles หรือ MMR เข็มที่ 1 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กอายุ 1 ถึง 2 ปี (นับจากวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย index case) ในระดับตำบล - MMR เข็มที่ 2 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในโรงเรียน

  38. ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนเหตุการณ์การระบาด (1)

  39. ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนเหตุการณ์การระบาด (2) www.boe.moph.go.th www.boe.moph.go.th

  40. แบบสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ME1 form)

  41. แบบสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ME1 form)

  42. แบบสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ME1 form)

  43. แบบสอบสวนเหตุการณ์การระบาด(ME2 form)

  44. ฐานข้อมูลโครงการกำจัดโรคหัดฐานข้อมูลโครงการกำจัดโรคหัด

  45. Number of reported measles by month, Thailand, 2011

  46. สรุปสถานการณ์โรคหัด • ประเทศไทยยังมีการเกิดโรคหัดภายในประเทศอย่างต่อเนื่อง และมีการระบาดเป็นกลุ่มใหญ่ประปราย • ยังมีกลุ่มอายุที่ไม่มีภูมิคุ้มกัน ได้แก่ 25 – 30 ปี • ยังมีพื้นที่ที่ความครอบคลุมของวัคซีนต่ำ ทำให้เกิดการระบาดในเด็ก • การพบโรคหัดในสัดส่วนที่สูงในกลุ่มอายุ 0 – 4 ปี ทั้งจากรายงาน 506 และ ME • 0 – 4 ปี น่าจะมารับการรักษามากกว่ากลุ่มอื่นๆ • Measles vaccine เข็มที่ 1 มีความครอบคลุมต่ำ / ภูมิคุ้มกันลดลง (มี 30 confirmed ที่ได้วัคซีนแล้ว)

  47. สรุปและข้อเสนอแนะต่อระบบเฝ้าระวังสรุปและข้อเสนอแนะต่อระบบเฝ้าระวัง • ประเทศไทยยังมีการรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัดต่ำกว่าเกณฑ์ • ขยายพื้นที่จัดประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจ • เน้นแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ Lab นอกเหนือจาก SRRT • SRRT มีศักยภาพในการสอบสวนและเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ • ควรเพิ่มขีดความสามารถในการตรวจจับผู้ป่วยอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มา รพ.

  48. สรุปและข้อเสนอแนะต่อระบบเฝ้าระวังสรุปและข้อเสนอแนะต่อระบบเฝ้าระวัง • มีความพร้อมของการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐานทั้ง NIH และ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ • ยังขาดการประสานข้อมูลระหว่าง SRRT กับงานควบคุมโรค • ควรมีการประเมินข้อมูลความครอบคลุมของวัคซีน • สสจ. ต้องช่วยกำกับติดตามข้อมูลประวัติวัคซีน รวมทั้งความครบถ้วนของข้อมูลอื่นๆในฐานข้อมูล

  49. ขอบคุณครับ

More Related