1 / 9

กระบวนการสร้างนโยบายสาธารณะ

กระบวนการสร้างนโยบายสาธารณะ. The Public Policy Making Process. รวบรวมและเรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์ ดร.สมาน งามสนิท. Fulbright Scholar กรรมการบริหารโครงการบัณฑิตศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ (รปม. รปด.) มหาวิทยาลัยราชภัฎวลัยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์.

pearly
Download Presentation

กระบวนการสร้างนโยบายสาธารณะ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กระบวนการสร้างนโยบายสาธารณะกระบวนการสร้างนโยบายสาธารณะ The Public Policy Making Process รวบรวมและเรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์ ดร.สมาน งามสนิท Fulbright Scholar กรรมการบริหารโครงการบัณฑิตศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ (รปม. รปด.) มหาวิทยาลัยราชภัฎวลัยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์

  2. วัตถุประสงค์ขั้นสุดท้ายของรัฐประศาสนศาสตร์คือพัฒนาความสามารถในการกำหนดนโยบายสาธาณะได้จึงได้รวบรวมแนวทางการสร้างนโยบายสาธารณะที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในประเทศไทยได้ ดังต่อไปนี้ 1. แนวที่หนึ่ง ตามแนวคิดของ Municipal Research and Services Center of Washington, MRSC, September 2000 เป็นแนวปฏิบัติที่เปิดโอกาสให้ทุกคนเข้ามามีสวนร่วมเพื่อผลของนโยบายที่มีประสิทธิภาพ MRSC เสนอขั้นตอนการกำหนดนโยบายได้ดังนี้ 1. Get issue on the Agenda บรรจุปัญหาเร่งด่วนไว้ในวาระเช่นปัญหาโรงงานปิดตัวเอง คนว่างงาน อาจต้องกำหนดนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจแนวใหม่ จัดปัญหาเร่งด่วนไว้ในวาระแรกๆ 2. Document Existing Conditions มอบหมายให้ผู้ที่เกี่ยวข้องจัดทำบันทึกเกี่ยวกับปัญหาเป็นลายลักษณ์อักษร อธิบายสภาพของปัญหาให้เข้าใจตรงกัน โดยให้อำนาจ หน้าที่และการสนับสนุน

  3. 3. Define goals and Objectives กำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ Goalsเป้าหมาย กำหนดเป็นคุณภาพ (qualitative ) เช่น 3.1. Create a community where people can live, work, and play in an environment that is safe, vibrant and aesthetically pleasing. 3.2. Preserve greenbelts and natural areas. Objectivesวัตถุประสงค์ จะเขียนเป็นปริมาณ (quantitative) มีตัวชี้วัดชัดเจน เช่น ตามเป้าหมายดังกล่าว เขียนเป็นวุตถุประสงค์ได้ดังนี้ 3.3 Create 1,500 new affordable housing units by the year 2005 3.4 Acquire outright or purchase the development rights to preserve 1,000 acres of greenbelts by the year 2005

  4. 4. Generate Alternatives พิจารณาหาทางเลือกให้กับนโยบายเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ อย่าด่วนตัดสินใจเลือกทางใดทางหนึ่งโดยยังมิได้พิจารณาอย่างรอบคอบทุกด้าน เช่นถ้าจะซื้อที่เพื่อสร้างสวนสาธารณะ จะต้องคำนึงถึงค่าใช้จ่ายที่จะต้องตามมาเช่นค่าบริหาร ค่าดูแล บำรุงรักษา 5. Identify Key Interest Groups ข้อนี้เป็นขั้นตอนสำคัญในการประเมินทางเลือก มีใครบ้างที่สนใจ ใส่ใจเรื่องนี้ กลุ่มไหนจะได้รับประโยชน์ กลุ่มไหนจะไดรับผลกระทบ กลุ่มไหนจะสนับสนุนและกลุ่มไหนจะต่อต้าน 6. Evaluate Alternatives ประเมินทางเลือก ข้อนี้เป็นความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่กำหนดนโยบาย ที่จะต้องแสดงให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้เห็นว่า ผลเสียอบ่างใหญ่หลวงจะเกิดขึ้น ถ้าไม่ทำอะไรเลย 7. Decide ตัดสินใจ กำนหดนโยบาย แม้ว่าทุกอย่างจะถูกต้องหมด แต่ก็ยากที่จะตัดสินใจ เพราะตัดสินใจในเรื่องที่ยาก จึงเสนอรายละเอียดเพิ่มเติมเพื่อประกอบการตัดสินใจดังนี้

  5. 7.1. Recognize constraints ต้องรับรู้ข้อจำกัด เช่นงบประมาณ ข้อกฏหมาย และอำนาจหน้าที่ของบ้านเมือง ต้องปรับความฝันที่จะเปลี่ยนแปลงให้สมดุลกับความจริง การเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยจะมีผลต่อไปในระยะยาว 7.2 Recognize that there are often more than two positions on one issue. ต้องรับรู้ว่า ในการแก้ปัญหาใดๆ ย่อมมีทั้งผู้คัดค้านและสนับสนุน ยากที่จะได้รับเสียงข้างมากหรือเป็นเอกฉันท์ 7.3 Think about how alternatives might be combined into “win-win” solutions that address needs of multiple parties. 7.4 Treat all parties with respect. Remember that even if you do not win this one, long-term relationships count.

  6. 8. Implement and Monitor นำนโยบายไปปฏิบัติและเฝ้ามอง ติดตามผล เมื่อนำนโยบายไปใช้แล้ว ต้องจัดให้มีคณะทำงานติดตามประเมินผลตลอดเวลา เพื่อแก้ไขปัญหาซึ่งอาจจะเกิดขึ้น ในระหว่างการนำนโยบายไปปฏิบัติ ถ้ามีปัญหา จะได้แก้ไขทันท่วงที 2. แนวทางที่ ๒ ตามแนวคิดของ Thomas R. Dye Thomas R.Dye ได้เสนอตัวแบบการกำหนดนโยบายสาธารณะไว้ในหนังสือ Understanding Public Policy, New Jersey, Prentice Hall (2002:32) ไว้ว่า นโยบายสาธารณะ เกี่ยวข้องด้วย process (กระบวนการ) activities (กิจกรรม) participants (ผู้มีส่วนร่วม) โดยการเสนอ Model ไว้ดังนี้

  7. Process Activities Participants • Problem Identification Publicize societal problems Mass Media Interest Expressing demands for groups

  8. การกำหนดนโยบาย(Policy Formulation) จะเน้น ๒ ประเด็น คือ Effective Formulationเป็นการพัฒนาแนวทางแก้ไขปัญหาที่ใช้การได้ มีประสิทธิภาพ และนำไปปฏิบัติได้ และ Acceptable Formulation คือนโยบายที่จะได้รับการอนุมัติจากฝ่ายที่มีอำนาจ ดังนั้น การกำหนดนโยบายจึงประกอบด้วย Analysis + Authorization = Formulation* นักวิเคราะห์นโยบายสาธารณะต้องมีความชำนาญ 3 ด้าน ได้แก่ • Ability to speak clearly in public • The ability to commit ideas and information to writing • The ability to think in terms of clear and distinct ideas. • Additional technical skills are strongly recommended. Information Technology skills must be mastered* *The Public Policy Cycle Website/Page:file:///I:Skills%20of%20Policy%Analysis,htm@Wayne Hayes,Ph.D./Profwork/initialed:October 18,2002/Last update: 3/18/2007

More Related