1 / 41

สิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารของราชการ Right to Know

สิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารของราชการ Right to Know. กลไกตรวจสอบภาคประชาชน เพื่อความโปร่งใสภาครัฐ. กฎหมายข้อมูลข่าวสารและสิทธิส่วนบุคคล :. การคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล. ข้อมูลข่าวสารของราชการ. ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540. การคุ้มครองสิทธิได้รู้. กระบวนการใช้ สิทธิของประชาชน.

Download Presentation

สิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารของราชการ Right to Know

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารของราชการRight to Know กลไกตรวจสอบภาคประชาชน เพื่อความโปร่งใสภาครัฐ

  2. กฎหมายข้อมูลข่าวสารและสิทธิส่วนบุคคล : การคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล ข้อมูลข่าวสารของราชการ

  3. ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 การคุ้มครองสิทธิได้รู้

  4. กระบวนการใช้สิทธิของประชาชนกระบวนการใช้สิทธิของประชาชน • สิทธิได้รู้ • โดยหน่วยงานเปิดเผย • โดยเข้าตรวจดู • โดยยื่นคำขอ • สิทธิอุทธรณ์ • คำสั่งมิให้เปิดเผย • คำสั่งไม่รับฟังคำคัดค้านการเปิดเผย • คำสั่งไม่แก้ไขข้อมูลข่าวสรส่วนบุคคล • สิทธิร้องเรียน • กรณีไม่จัดหาข้อมูล • ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย • ปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า หรือไม่อำนวยความสะดวก ฯลฯ

  5. กระบวนการคุ้มครองสิทธิของประชาชนกระบวนการคุ้มครองสิทธิของประชาชน สิทธิรับรู้ ตาม รธน. และพรบ.ข้อมูลฯ ศาลปกครอง - วินิจฉัย - ตามกรอบ กม. ยื่นคำขอ ฟ้องศาล การคุ้มครอง เยียวยาตาม กม. การพิจารณาของ จนท. ชั้นต้น กระบวนการเยียวยา - จัดหาให้ - เปิดเผย มิให้เปิดเผย - อุทธรณ์ - ร้องเรียน การปฏิเสธของ หน่วยงาน

  6. ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 กระบวนการใช้ดุลยพินิจ

  7. หลักคุ้มครองสิทธิ โครงสร้างกฎหมาย การแบ่งประเภท ข้อมูลข่าวสาร ในมิติต่างๆ อำนาจของ จนท. หลักการใช้ดุลพินิจ ประเภทข้อมูลข่าวสารของราชการ • ตามโครงสร้างกฎหมาย • - ข้อมูลข่าวสารที่เปิดเผยได้ • ข้อมูลข่าวสารที่เปิดเผยไม่ได้ • ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล • ข้อมูลข่าวสารประวัติศาสตร์ ตามความหมายอย่างกว้าง-ข้อมูลที่เปิดเผยได้ทั่วไป - ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล • ตามอำนาจปฏิเสธ • - ข้อมูลตามมาตรา ๑๔ • ข้อมูลตามมาตรา ๑๕ • ข้อมูลตามมาตรา ๑๖ • ข้อมูลตามมาตรา ๑๗ ตามหลักการใช้ดุลพินิจ - มาตรา ๑๕ (๑) - (๗)

  8. การแบ่งประเภทข้อมูลข่าวสาร ตามมิติต่างๆ ความหมายกว้าง :หลักการคุ้มครองสิทธิรับรู้ หลักการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล โครงสร้างกฎหมาย :แบ่งได้ 4 ประเภท (กม. มี 7 หมวด ว่าด้วยข้อมูล 4 หมวด) อำนาจปฏิเสธ : มี 4 มาตรา( ม.14 , 15, 16, และ 17) หลักการใช้ดุลยพินิจ : มี 7 ลักษณะ / ประเภท ตาม ม.15

  9. ประเภทข้อมูลข่าวสาร แบ่งตามโครงสร้าง กม. ต้องเปิดเผยเป็นการทั่วไป ไม่ต้องเปิดเผย 14 15 15 16 14 17 ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล 25 เอกสารประวัติศาสตร์ 7 9 11 26

  10. ประเภทข้อมูลข่าวสารที่มีอำนาจไม่ต้องเปิดเผยประเภทข้อมูลข่าวสารที่มีอำนาจไม่ต้องเปิดเผย หน่วยงานอาจมีคำสั่งไม่ต้องเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร 14 15 16 17

  11. ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย ข้อมูลตาม ม.14 : ประเภทต้องห้ามเปิดเผย (ข้อมูลเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์) ข้อมูลตาม ม.15 : ประเภทต้องใช้ดุลยพินิจเปิด / ปิด ได้ (มี 7 ลักษณะ/รายการ) ข้อมูลตาม ม.16 : ประเภทที่มีการกำหนดชั้นความลับไว้ ข้อมูลตาม ม.17 : ประเภทที่เกี่ยวกับประโยชน์ได้เสียผู้อื่น ข้อมูลตาม ม.25 : ประเภทข้อมูลส่วนบุคคลของผู้อื่น

  12. มาตรา 15 ข้อมูลที่ จนท. ต้องใช้ดุลยพินิจก่อน ตาม ม. 15 เป็นข้อมูลฯ ที่ต้องใช้ดุลยพินิจ ก่อนที่มีคำสั่ง..... 1. มีคำสั่งให้เปิดเผย ลับ 2. มีคำสั่งมิให้เปิดเผย

  13. มาตรา 16 : ข้อมูลที่เป็นไปตามระเบียบว่าด้วยความลับของทางราชการ เพื่อให้เกิดความชัดเจนในทางปฏิบัติว่าข้อมูลข่าวสารของราชการจะเปิดเผยต่อบุคคลใดได้หรือไม่ภายใต้เงื่อนไขเช่นใด และสมควรมีวิธีรักษามิให้รั่วไหลให้หน่วยงานของรัฐกำหนดวิธีการคุ้มครองข้อมูลข่าวสารนั้น ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกำหนดว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ

  14. มาตรา16 หลักเกณฑ์สำหรับข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย 1.ต้องเข้าลักษณะข้อมูลข่าวสารอย่างหนึ่งอย่างใดใน 7 ประเภท 2. เป็นข้อมูลที่ผู้มีอำนาจได้กำหนดชั้นความลับไว้ 1. ต้องใช้ดุลพินิจตามหลักมาตรา 15 2. ก่อนการเปิดเผยเจ้าหน้าที่ต้องเสนอ ให้ผู้มีอำนาจปลด/ยกเลิกชั้นความลับ เสียก่อน เปิด มี 2 ขั้นตอนหลัก

  15. มาตรา 17 : ข้อมูลที่มีกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของผู้อื่น ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐเห็นว่า การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการใดอาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของผู้ใด ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐแจ้งให้ผู้นั้นเสนอคำคัดค้านภายในเวลาที่กำหนด ผู้ที่ทราบว่าการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการใดอาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของตน มีสิทธิคัดค้านการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้นได้โดยทำเป็นหนังสือถึงเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบ เจ้าหน้าที่ของรัฐจะเปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้นมิได้จนกว่าจะล่วงพ้นกำหนดเวลาอุทธรณ์ตามมาตรา 18 ……

  16. มาตรา17 หลักเกณฑ์สำหรับข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย 1.ต้องเข้าลักษณะข้อมูลข่าวสารที่ ผู้อื่นมีประโยชน์ได้เสีย 2. ผู้มีประโยชน์ได้เสียได้ใช้สิทธิคัดค้านการเปิดเผย 1. เจ้าหน้าที่ต้องแจ้งให้ผู้นั้นเสนอคำคัดค้าน ภายในเวลาที่กำหนด 2. เจ้าหน้าที่ต้องพิจารณาว่า เหตุผลที่คัดค้าน ฟังขึ้นหรือไม่ 3. แจ้งผลการพิจารณา และแจ้งสิทธิอุทธรณ์ เปิด ปิด

  17. ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มี 2 องค์ประกอบ คือ 1. มีลักษณะ/ประเภทตามที่ กม. กำหนด 2. มีหลักเกณฑ์การใช้ดุลยพินิจ 3 ประการ หลักเกณฑ์ในการใช้ดุลยพินิจ

  18. ข้อมูลที่ต้องใช้ดุลยพินิจ มี 7 ประเภท/ลักษณะ ดังนี้ • ก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ • จะทำให้การบังคับใช้กฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ • ความเห็นหรือคำแนะนำภายในหน่วยงานของรัฐ • อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของบุคคล • รายงานการแพทย์หรือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล • ข้อมูลที่มีกฎหมายคุ้มครองมิให้เปิดเผย • ข้อมูลข่าวสารที่มีการกำหนดในพระราชกฤษฎีกาเพิ่มเติม

  19. มาตรา15 หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการใช้ดุลยพินิจ 1.ต้องเข้าลักษณะข้อมูลข่าวสารอย่างหนึ่งอย่างใดใน 7 ประเภท 2. ต้องใช้ดุลยพินิจโดยคำนึงถึง หลักเกณฑ์ 3 ประการ ดังนี้ • การปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย • ประโยชน์สาธารณะ • ประโยชน์ของเอกชนที่เกี่ยวข้อง เปิด ปิด 3. เจ้าหน้าที่สามารถกำหนดเงื่อนไขอย่างใดก็ได้

  20. กระบวนการใช้ดุลยพินิจกระบวนการใช้ดุลยพินิจ 1. หลักเกณฑ์สำคัญในการใช้ดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่ หลักเกณฑ์พื้นฐานในการพิจารณาออกคำสั่ง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการใช้ดุลยพินิจที่กฎหมายกำหนด ประเด็นสำคัญที่ต้องใช้ประกอบการพิจารณา หลักการสำคัญที่ใช้ควบคุมการใช้ดุลพินิจของ จนท. 20 20

  21. คำสั่งมิให้เปิดเผยต้องกระทำโดยชอบด้วยกฎหมาย ข้อมูลข่าวสารที่จะปฏิเสธได้ต้องมีลักษณะตามที่ กม.กำหนด คำสั่งมิให้เปิดเผยต้องระบุไว้ด้วยว่า เป็นข้อมูลข่าวสารประเภทใด และ เพราะเหตุใด คำสั่งนั้นต้องมีการแจ้งรายละเอียดตามที่กฎหมายกำหนดไว้ด้วย สิทธิ และ ระยะเวลาอุทธรณ์ หลักเกณฑ์พื้นฐานในการพิจารณาออกคำสั่ง

  22. B. หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการใช้ดุลยพินิจที่กฎหมายกำหนด • การปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายของหน่วยงานของรัฐ • ประโยชน์สาธารณะ • ประโยชน์ของเอกชนที่เกี่ยวข้อง 22 22

  23. C.ประเด็นสำคัญที่ต้องใช้ประกอบการพิจารณาC.ประเด็นสำคัญที่ต้องใช้ประกอบการพิจารณา • วิธีการเปิด – เปิดอย่างไร • เนื้อหาที่เปิด - เปิดแค่ไหน • เวลาที่เปิด – เปิดเมื่อใด 23 23

  24. กระบวนการใช้ดุลยพินิจกระบวนการใช้ดุลยพินิจ 2. ขั้นตอนการพิจารณาของเจ้าหน้าที่ การดำเนินการตรวจสอบหลักเกณฑ์เบื้องต้น การพิจารณาหลักความชอบด้วยกฎหมาย การใช้ดุลยพินิจ วิเคราะห์ ชั่งน้ำหนัก ตัดสินใจ การออกคำสั่งปฏิเสธ 24 24

  25. D.หลักการ :ที่ในการควบคุมการใช้ดุลพินิจ 1. หลักความชอบด้วยกฎหมาย ประโยชน์สาธารณะ 2. หลักการปกครองที่โปร่งใส 3. หลักการปกครองที่ประชาชนมีส่วนร่วม 4. หลักการปกครองที่ประชาชนตรวจสอบได้ 5. หลักการคุ้มครองประโยชน์สาธารณะ

  26. หลักการ :ที่ในการควบคุมการใช้ดุลพินิจ 1. หลักการปกครองที่ผู้ใช้อำนาจมีความรับผิดชอบ การปฏิบัติหน้าที่ 2. หลักการอำนวยความยุติธรรมและการบริการที่ดี 3. หลักการคุ้มครองการปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐ 4. หลักการคุ้มครองกระบวนการบังคับใช้กฎหมายให้ มีประสิทธิภาพ และประสบผลสำเร็จ 5. หลักการคุ้มครองความเป็นอิสระของเจ้าหน้าที่

  27. หลักการ :ที่ในการควบคุมการใช้ดุลพินิจ 1. หลักการปกครองที่ประชาชนได้รับความเป็นธรรม เอกชน 2. หลักการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล ความเป็นอยู่ส่วนตัว 3. หลักคุ้มครองความปลอดภัยของบุคคล 4. หลักแห่งความได้สัดส่วน (หลักเหมาะสม + หลักจำเป็น + หลักความสมดุล) 5. หลักการคุ้มครองประโยชน์ได้เสียของบุคคล

  28. ขั้นตอนการใช้ดุลพินิจขั้นตอนการใช้ดุลพินิจ 1. พิจารณาถึงผลดี ผลเสีย ผลกระทบ 2. ชั่งน้ำหนักผลดีกับผลเสีย ผลกระทบ 3. ตัดสินใจเปิดเผยหรือไม่เปิดเผย

  29. กรณีที่ 1 อุทธรณ์คำสั่ง ไม่แก้ไขข้อมูลประวัติการรักษาพยาบาล ผู้ขอ ใช้สิทธิขอ ขอดู และขอแก้ไขประวัติการรักษาพยาบาลของตน ให้ตรงกับบันทึกประจำวัน หน่วยงานที่รับผิดชอบ :โรงพยาบาล - ไม่แก้รายละเอียดในประวัติผู้ป่วยเกี่ยวกับการบันทึกเหตุการณ์ว่า ใครเป็นคนขับรถ - และเป็นเอกสารที่มีการเปิดเผยให้กับบริษัทประกันไปแล้ว อาจเสียหายได้ • มิใช่เป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล แต่เป็นข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับสภาพการเกิดอุบัติเหตุ จนเป็นเหตุให้เจ็บป่วย • แม้จะเป็นข้อมูลที่อยู่ในประวัติผู้ป่วย แต่มิใช่ข้อมูลที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของแพทย์ ที่จะต้องดำเนินการจัดเก็บเป็นข้อมูลส่วนบุคคล

  30. กรณีที่ 2 อุทธรณ์คำสั่ง ไม่เปิดเผยภาพถ่ายของผู้ป่วย ผู้ขอ ใช้สิทธิขอ ขอดูภาพถ่ายที่แพทย์ถ่ายรูปตนไว้เพื่อการรักษาพยาบาล และเป็นภาพที่อยู่ในสำนวนการสอบสวนของแพทยสภา หน่วยงานที่รับผิดชอบ :แพทยสภา • ไม่อนุญาตให้เปิดเผย เพราะอยู่ระหว่างการสอบสวน • กระทบต่อการสืบสวน และแพทย์ที่ทำการรักษาพยาบาล • และเป็นข้อมูลของแพทย์ผู้รักษา เป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลของผู้ป่วย และเป็นข้อมูลที่เกี่ยวกับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการรักษาผู้ป่วย ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อกระทบสิทธิผู้ป่วย จึงเป็นข้อมูลที่ต้องเปิดเผย

  31. กรณีที่ 3 อุทธรณ์คำสั่ง ไม่เปิดเผยภาพของผู้ป่วย ผู้ขอ ใช้สิทธิขอ ขอดูผลการสอบแพทย์แผนโบราณของทุกคน คำถาม พร้อมธงคำตอบ หน่วยงานที่รับผิดชอบ :กรม...... • ไม่อนุญาตให้เปิดเผย เพราะจะเสียหายต่อระบบการสอบ • กระทบต่อระบบคลังข้อสอบ • กระทบสิทธิของผู้สอบรายอื่น • มิใช่เป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลของผู้สอบ - เป็นข้อมูลที่เกี่ยวกับระบบการสอบที่มีระบบหมุนเวียนข้อสอบจาก คลังข้อสอบ การเปิดเผยกระทบการปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงาน • วินิจฉัยให้เปิดเผยเฉพาะของผู้ขอ เพื่อความโปร่งใส แต่ไม่ให้สำเนา

  32. กรณีที่ 2 สค 7/2542 อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผยคำร้องที่ ขอให้ศาลฯ วินิจฉัยว่าขัดกับ รธน.หรือไม่ ผู้ขอ : ใช้สิทธิขอ คำร้องที่ ขอให้ศาลฯ วินิจฉัยว่า “ประกาศกำหนดอัตราดอกเบี้ยสูงสุดของ ธ.พาณิชย์ภายใต้ประกาศ ธ. แห่งประเทศไทย” ขัดกับ รธน. หรือไม่ หน่วยงานที่รับผิดชอบ :ศาลรัฐธรรมนูญ - เป็นข้อมูลข่าวสารที่อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลฯ - ไม่สามารถเปิดเผยได้ตามมาตรา 15 (2) เป็นข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองของศาลในส่วนที่เกี่ยวกับการพิจารณาคดี ไม่อยู่ในบังคับ พรบ. ข้อมูลฯ

  33. กรณีที่ 3 สค 18/2542 อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผยสำนวนการสอบสวนกรณีทุจริตยาและเวชภัณฑ์ใน ก.สาธารณสุข ผู้ขอ : ประชาชน ใช้สิทธิขอ คำขอ : สำนวนการสอบสวนกรณีทุจริตยาและเวชภัณฑ์ใน ก.สาธารณสุข สถานะข้อมูล : สำนวนการสอบสวนเสร็จสิ้นแล้ว หน่วยงานที่รับผิดชอบ :สำนักงาน ปปป. • - เป็นข้อมูลข่าวสารของราชการที่มี กม. ปปป. คุ้มครอง • จะทำให้การบังคับใช้ กม. เสื่อมประสิทธิภาพตามมาตรา 15 (2) • มิใช่ข้อมูลข่าวสารสาธารณะ • การทุจริตกระทบประโยชน์สาธารณะ การเปิดเผยจะเกิดทัศนคติที่ดีต่อระบบการบริหารราชการแผ่นดิน • สำนวนสอบสวนยุติแล้ว จนท ถูกสั่งลงโทษ ส่วนนักการเมืองถูกเสนอเรื่องไปยังพนักงานสอบสวนคดีอาญาแล้ว

  34. กรณีที่ 4 สค 32/2542 อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผยหนังสือร้องเรียนอธิการบดี (ม.ภาคเหนือ) ผู้ขอ : ถูกร้องเรียนกล่าวหา ใช้สิทธิขอ คำขอ : หนังสือร้องเรียนกล่าวหาตน ว่ามีพฤติการณ์ทุจริตต่อหน้าที่ สถานะข้อมูล : สำนวนการสอบสวนเสร็จสิ้นแล้ว สรุปว่าไม่มีมูล หน่วยงานที่รับผิดชอบ :สำนักงาน ปปป. • - เป็นข้อมูลข่าวสารของราชการที่มี กม. ปปป. คุ้มครอง • จะทำให้การบังคับใช้ กม. เสื่อมประสิทธิภาพตามมาตรา 15 (2) • จะเกิดอันตรายกับผู้ชี้เบาะแส • เรื่องเป็นที่ยุติแล้ว ไม่มีประเด็น ตาม ม. 15 (2) • คำนึงประโยชน์สาธารณะ เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนตรวจสอบ • เรื่องยุติว่าไม่มีมูล เป็นความจำเป็นที่ผู้ถูกร้องเรียนนำไปใช้สิทธิ ป้องกันตนเอง

  35. กรณีที่ 5 สค 2/2543 อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผยสำนวน ป.ป.ช. กรณีโครงการที่ราชพัสดุ ผู้ขอ : ถูกร้องเรียนกล่าวหา ใช้สิทธิขอ คำขอ : สำนวนการสอบสวน คำให้การพยานบุคคล และ พยานหลักฐาน สถานะข้อมูล : สำนวนการสอบสวนอยู่ระหว่างสอบสวน หน่วยงานที่รับผิดชอบ :สำนักงาน ป.ป.ช. • - เป็นข้อมูลข่าวสารของราชการที่มี กม. คุ้มครองมิให้เปิดเผย • จะทำให้การบังคับใช้ กม. เสื่อมประสิทธิภาพตามมาตรา 15 (2) • จะเกิดอันตรายต่อชีวิต • การสอบสวนยังไม่แล้วเสร็จ อาจทำให้การบังคับใช้ กม. เสื่อม ประสิทธิภาพ หรือไม่อาจสำเร็จตามวัตถุประสงค์ได้

  36. กรณีที่ 6 สค 32/2542 อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผยเอกสารการเลือกตั้ง สว. ผู้ขอ : ประชาชน ใช้สิทธิขอ คำขอ : เอกสารการเลือกตั้ง สว. ขอนแก่น ได้แก่ แบบ สว 34 สว 35 สว 36 สถานะข้อมูล : การเลือกตั้งเสร็จสิ้นแล้ว แต่มีการร้องเรียน หน่วยงานที่รับผิดชอบ :สำนักงาน กกต. จ.ขอนแก่น • - ผู้ขอไม่มีอำนาจหน้าที่ตรวจสอบเอกสาร • จะทำให้การบังคับใช้ กม. เสื่อมประสิทธิภาพตามมาตรา 15 (2) • กระบวนการเลือกตั้งไม่สิ้นสุด การเปิดเผยอาจเกิดทุจริตฯ หรือเกิดได้เปรียบเสียเปรียบของผู้สมัครที่เหลือได้ • เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกตั้งตามระบอบ ปชต. ที่เปิดเผยได้อยู่แล้ว • การเปิดเผยยิ่งจะเป็นการส่งเสริมการปกครอง ปชต. ให้มั่นคงถาวร • ทั้งยังส่งเสริมให้ ปชช. รู้ถึงสิทธิหน้าที่ เพื่อปกปักรักษาประโยชน์ ส่วนรวมด้วย

  37. กรณีที่ 7 สค 4/2545 อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผยสำนวนไต่สวนข้อเท็จจริง ป.ป.ช. กรณีทุจริตต่อหน้าที่ ผู้ขอ : นายพล ก. ถูกร้องเรียนกล่าวหา ใช้สิทธิขอ คำขอ : สำนวนการสอบสวน คำให้การพยานบุคคล และ พยานหลักฐาน สถานะข้อมูล : สำนวนการสอบสวนอยู่ระหว่างสอบสวน หน่วยงานที่รับผิดชอบ :สำนักงาน ป.ป.ช. • - ไม่อยู่ในบังคับ กม.ข้อมูลข่าวสาร • เป็นหน่วยงานอิสระ ในกำกับของ คณะกรรมการ ป.ป.ช. • ไม่อยู่ภายใต้กำกับ หรือบังคับบัญชาของคณะรัฐมนตรี • ป.ป.ช. เป็นหน่วยงานของรัฐ อยู่ในบังคับของกฎหมาย • การสอบสวนยังไม่แล้วเสร็จ อาจทำให้การบังคับใช้ กม. เสื่อม ประสิทธิภาพ หรือไม่อาจสำเร็จตามวัตถุประสงค์ได้ • ประกอบกับ อนุฯ ไต่สวนได้แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปข้อเท็จจริงให้ เพียงพอ ต่อสู้ โต้แย้ง ครอบคลุมทุกประเด็นแล้ว

  38. กรณีที่ 8 สค 4/2545 อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผยรายงานการประชุม กธ.ยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน กรณีการหายตัวของนายทนงฯ ผู้ขอ : มูลนิธิพิพิธภัณฑ์แรงงานไทย ใช้สิทธิขอ คำขอ : รายงานการประชุม กธ.ยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน กรณีการหายตัวของนายทนงฯ สถานะข้อมูล : ยุติแล้ว หน่วยงานที่รับผิดชอบ :สำนักงาน เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร • - มีข้อความพาดพิงถึงหน่วยงาน และบุคคลอื่นในทางเสียหาย • อาจเกิดอันตรายต่อชีวิตของบุคคล • ไม่ปรากฎข้อเท็จจริงว่าจะเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติหน้าที่ • แม้จะมีข้อมูลกระทบถึงสิทธิส่วนบุคคล ความเป็นอยู่ส่วนตัว ครอบครัว และ สุขภาพของนายทะนง ต่ก็เป็นคำชี้แจงที่มีประโยชน์ต่อการแสวงหาข้อเท็จจริง กรณีหายตัว ไม่เป็นการรุกล้ำสิทธิเกินสมควร • แต่ให้ปกปิดชื่อผู้หญิงที่มีการกล่าวอ้างว่ามีความสัมพันธ์ส่วนตัวกับนายทนง

  39. กรณีที่ 9 สค 27/2546 อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผยสำนวนการสอบสวนคดีอาญาที่ผู้อุทธรณ์ถูกกล่าวหา ผู้ขอ : เจ้าหน้าที่ของรัฐถูกกล่าวหา ใช้สิทธิขอ คำขอ : สำนวนการสอบสวนคดีอาญาที่ผู้อุทธรณ์ถูกกล่าวหาว่า ให้ผู้อื่นล่วงรู้ความลับราชการ สถานะข้อมูล : ยุติแล้ว สรุปว่า ให้ข้อกล่าวหาตกไป หน่วยงานที่รับผิดชอบ :สำนักงาน ป.ป.ช. • - เป็นข้อเท็จจริงทที่ได้มาจากการปฏิบัติหน้าที่ ตาม พรบ. ปปช. • เมื่อไม่เข้าข้อยกเว้นตามมาตรา 120 คก.ป.ป.ช. จึงมีมติไม่ เปิดเผย • ป.ป.ช. ตกอยู่ในบังคับ พรบ. ข้อมูลข่าวสาร • สำนวนการสอบสวนคดีอาญาที่ ป.ป.ช. พิจารณายุติแล้ว เมื่อปรากฏว่า พยานบุคคล มีเฉพาะ จนท. ตร ข้อความที่บันทึกไม่ส่งผลกระทบบุคคลอื่นย่อมเปิดเผยได้ • และไม่ปรากฏข้อเท็จจริงใดแสดงว่าจะทำให้ การบังคับใช้ กม. เสื่อมฯ

  40. กรณีที่ 10 สค 41/2546 อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผยสำนวนการไต่สวนข้อเท็จจริงที่ผู้อุทธรณ์กล่าวหา จนท.ตร. กลั่นแกล้งจับกุม ผู้ขอ : เจ้าหน้าที่ของรัฐถูกกล่าวหา ใช้สิทธิขอ คำขอ : สำนวนการไต่สวนข้อเท็จจริงที่ผู้อุทธรณ์กล่าวหา จนท.ตร. กลั่นแกล้งจับกุม สถานะข้อมูล : ยุติแล้ว สรุปว่า ให้ข้อกล่าวหาตกไป หน่วยงานที่รับผิดชอบ :สำนักงาน ป.ป.ช. • - เป็นข้อเท็จจริงที่ได้มาจากการปฏิบัติหน้าที่ ตาม พรบ. ป.ป.ช. • เมื่อไม่เข้าข้อยกเว้นตามมาตรา 120 คก.ป.ป.ช. จึงมีมติไม่ เปิดเผย • ป.ป.ช. ตกอยู่ในบังคับ พรบ. ข้อมูลข่าวสารฯ • การยกมาตรา 120 ของ กม. ปปช. ขึ้นอ้าง โดยไม่ใช้ดุลยพินิจตามมาตรา 15 พรบ. ข้อมูล ย่อมเป็นการปฏิบัติที่ไม่ชอบตาม กม. ดังกล่าว • และไม่ปรากฏข้อเท็จจริงใดแสดงว่าจะทำให้ การบังคับใช้ กม. เสื่อมฯ

  41. Thank You ! สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ

More Related